เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียน 144 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ออสตราเลเซีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้

Line across the Earth
144°
เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออก
แผนที่พิกัดทั้งหมด กำลังใช้ OpenStreetMap 
ดาวน์โหลดพิกัดเป็น KML

เส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 36 องศาตะวันตก

จากขั้วโลกสู่ขั้วโลก แก้

เริ่มจากขั้วโลกเหนือ มุ่งหน้าทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 144 องศาตะวันออกลากผ่านพื้นที่ดังนี้:

พิกัด ประเทศ ดินแดน หรือพื้นน้ำ หมายเหตุ
90°0′N 144°0′E / 90.000°N 144.000°E / 90.000; 144.000 (มหาสมุทรอาร์กติก) มหาสมุทรอาร์กติก
75°49′N 144°0′E / 75.817°N 144.000°E / 75.817; 144.000 (รัสเซีย)   รัสเซีย สาธารณรัฐซาฮาเกาะโคเตลนืย, หมู่เกาะนิวไซบีเรีย
75°1′N 144°0′E / 75.017°N 144.000°E / 75.017; 144.000 (ทะเลไซบีเรียตะวันออก) ทะเลไซบีเรียตะวันออก
72°40′N 144°0′E / 72.667°N 144.000°E / 72.667; 144.000 (รัสเซีย)   รัสเซีย สาธารณรัฐซาฮา
คาบาโรฟสกีไคร — จากพิกัด 61°45′N 144°0′E / 61.750°N 144.000°E / 61.750; 144.000 (คาบาโรฟสกีไคร)
59°24′N 144°0′E / 59.400°N 144.000°E / 59.400; 144.000 (ทะเลโอค็อตสค์) ทะเลโอค็อตสค์
49°57′N 144°0′E / 49.950°N 144.000°E / 49.950; 144.000 (รัสเซีย)   รัสเซีย แคว้นซาฮาลินเกาะซาฮาลิน
49°16′N 144°0′E / 49.267°N 144.000°E / 49.267; 144.000 (ทะเลโอค็อตสค์) ทะเลโอค็อตสค์
44°8′N 144°0′E / 44.133°N 144.000°E / 44.133; 144.000 (ญี่ปุ่น)   ญี่ปุ่น จังหวัดฮกไกโดเกาะฮกไกโด
42°55′N 144°0′E / 42.917°N 144.000°E / 42.917; 144.000 (มหาสมุทรแปซิฟิก) มหาสมุทรแปซิฟิก ผ่านทางตะวันออกของโวเลอัยอะทอลล์,   ไมโครนีเชีย (ที่พิกัด 7°20′N 144°0′E / 7.333°N 144.000°E / 7.333; 144.000 (โวเลอัย))
ผ่านทางตะวันตกของหมู่เกาะนินิโก,   ปาปัวนิวกินี (ที่พิกัด 1°28′S 144°1′E / 1.467°S 144.017°E / -1.467; 144.017 (หมู่เกาะนินิโก))
ผ่านทางตะวันตกของหมู่เกาะสเชาเตน,   ปาปัวนิวกินี (ที่พิกัด 3°12′S 144°3′E / 3.200°S 144.050°E / -3.200; 144.050 (หมู่เกาะสเชาเตน))
3°48′S 144°0′E / 3.800°S 144.000°E / -3.800; 144.000 (ปาปัวนิวกินี)   ปาปัวนิวกินี
7°44′S 144°0′E / 7.733°S 144.000°E / -7.733; 144.000 (ทะเลคอรัล) ทะเลคอรัล ผ่านทางตะวันตกของเกาะมูร์เรย์, รัฐควีนส์แลนด์,   ออสเตรเลีย (ที่พิกัด 9°55′S 144°2′E / 9.917°S 144.033°E / -9.917; 144.033 (เกาะมูร์เรย์))
14°29′S 144°0′E / 14.483°S 144.000°E / -14.483; 144.000 (ออสเตรเลีย)   ออสเตรเลีย รัฐควีนส์แลนด์
รัฐนิวเซาท์เวลส์ — จากพิกัด 29°0′S 144°0′E / 29.000°S 144.000°E / -29.000; 144.000 (รัฐนิวเซาท์เวลส์)
รัฐวิกตอเรีย — จากพิกัด 35°33′S 144°0′E / 35.550°S 144.000°E / -35.550; 144.000 (รัฐวิกตอเรีย)
38°31′S 144°0′E / 38.517°S 144.000°E / -38.517; 144.000 (ช่องแคบบาสส์) ช่องแคบบาสส์
39°36′S 144°0′E / 39.600°S 144.000°E / -39.600; 144.000 (ออสเตรเลีย)   ออสเตรเลีย รัฐแทสเมเนียเกาะคิง
40°6′S 144°0′E / 40.100°S 144.000°E / -40.100; 144.000 (มหาสมุทรอินเดีย) มหาสมุทรอินเดีย ทางการออสเตรเลียถือว่าบริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรใต้[1][2]
60°0′S 144°0′E / 60.000°S 144.000°E / -60.000; 144.000 (มหาสมุทรใต้) มหาสมุทรใต้
67°5′S 144°0′E / 67.083°S 144.000°E / -67.083; 144.000 (แอนตาร์กติกา) แอนตาร์กติกา ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี, อ้างสิทธิ์โดย   ออสเตรเลีย

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Darby, Andrew (22 December 2003). "Canberra all at sea over position of Southern Ocean". The Age. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.
  2. "Indian Ocean". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.