เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียน 127 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้

Line across the Earth
127°
เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออก
แผนที่พิกัดทั้งหมด กำลังใช้ OpenStreetMap 
ดาวน์โหลดพิกัดเป็น KML

เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 53 องศาตะวันตก

จากขั้วโลกสู่ขั้วโลก

แก้

เริ่มจากขั้วโลกเหนือ มุ่งหน้าทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันออกลากผ่านพื้นที่ดังนี้:

พิกัด ประเทศ ดินแดน หรือพื้นน้ำ หมายเหตุ
90°0′N 127°0′E / 90.000°N 127.000°E / 90.000; 127.000 (มหาสมุทรอาร์กติก) มหาสมุทรอาร์กติก
77°34′N 127°0′E / 77.567°N 127.000°E / 77.567; 127.000 (ทะเลลัปเตฟ) ทะเลลัปเตฟ
73°27′N 127°0′E / 73.450°N 127.000°E / 73.450; 127.000 (รัสเซีย)   รัสเซีย สาธารณรัฐซาฮา — เกาะสามเหลี่ยมปากแม่น้ำลีนา และแผ่นดินหลัก
แคว้นอามูร์ — จากพิกัด 55°42′N 127°0′E / 55.700°N 127.000°E / 55.700; 127.000 (แคว้นอามูร์)
51°0′N 127°0′E / 51.000°N 127.000°E / 51.000; 127.000 (จีน)   สาธารณรัฐประชาชนจีน มณฑลเฮย์หลงเจียง
มณฑลจี๋หลิน — จากพิกัด 45°0′N 127°0′E / 45.000°N 127.000°E / 45.000; 127.000 (มณฑลจี๋หลิน)
มณฑลเฮย์หลงเจียง — ใกล้ประมาณ 10 กม. จากพิกัด 44°47′N 127°0′E / 44.783°N 127.000°E / 44.783; 127.000 (มณฑลเฮย์หลงเจียง)
มณฑลจี๋หลิน — จากพิกัด 44°43′N 127°0′E / 44.717°N 127.000°E / 44.717; 127.000 (มณฑลจี๋หลิน)
41°45′N 127°0′E / 41.750°N 127.000°E / 41.750; 127.000 (เกาหลีเหนือ)   เกาหลีเหนือ จังหวัดชากัง
จังหวัดรยังกัง
จังหวัดฮัมกย็องใต้
จังหวัดพย็องอันใต้
จังหวัดฮัมกย็องใต้
จังหวัดคังว็อน
38°13′N 127°0′E / 38.217°N 127.000°E / 38.217; 127.000 (เกาหลีใต้)   เกาหลีใต้

จังหวัดคย็องกี
ผ่านโซล
จังหวัดคย็องกี - ผ่านซูวอน
จังหวัดชุงช็องใต้
จังหวัดช็อลลาเหนือ - ผ่านทางตะวันตกของช็อนจู
จังหวัดช็อลลาใต้
ผ่านทางตะวันออกของควังจู
จังหวัดช็อลลาใต้

34°18′N 127°0′E / 34.300°N 127.000°E / 34.300; 127.000 (ทะเลจีนตะวันออก) ทะเลจีนตะวันออก ผ่านทางตะวันออกของเกาะเจจู,   เกาหลีใต้ (ที่พิกัด 33°27′N 126°57′E / 33.450°N 126.950°E / 33.450; 126.950 (เจจู))
ผ่านทางตะวันตกของเกาะโทะนะกิจิมะ, จังหวัดโอะกินะวะ,   ญี่ปุ่น (ที่พิกัด 26°22′N 127°8′E / 26.367°N 127.133°E / 26.367; 127.133 (โทะนะกิจิมะ))
ผ่านทางตะวันออกของเกาะคุเมะจิมะ, จังหวัดโอะกินะวะ,   ญี่ปุ่น (ที่พิกัด 26°20′N 126°49′E / 26.333°N 126.817°E / 26.333; 126.817 (คุเมะจิมะ))
25°45′N 127°0′E / 25.750°N 127.000°E / 25.750; 127.000 (มหาสมุทรแปซิฟิก) มหาสมุทรแปซิฟิก ทะเลฟิลิปปินส์ — ผ่านทางตะวันออกของหมู่เกาะตะเลาด์,   อินโดนีเซีย (ที่พิกัด 4°16′N 126°55′E / 4.267°N 126.917°E / 4.267; 126.917 (หมู่เกาะตะเลาด์))
4°17′N 127°0′E / 4.283°N 127.000°E / 4.283; 127.000 (ทะเลโมลุกกะ) ทะเลโมลุกกะ ผ่านทางตะวันตกของเกาะลาตาลาตา,   อินโดนีเซีย (ที่พิกัด 0°16′S 127°1′E / 0.267°S 127.017°E / -0.267; 127.017 (ลาตาลาตา))
ผ่านทางตะวันตกของหมู่เกาะเบจัน,   อินโดนีเซีย (ที่พิกัด 0°26′S 127°5′E / 0.433°S 127.083°E / -0.433; 127.083 (กาซิรูตา))
1°43′S 127°0′E / 1.717°S 127.000°E / -1.717; 127.000 (ทะเลเจรัม) ทะเลเจรัม
3°9′S 127°0′E / 3.150°S 127.000°E / -3.150; 127.000 (อินโดนีเซีย)   อินโดนีเซีย เกาะบูรู
3°43′S 127°0′E / 3.717°S 127.000°E / -3.717; 127.000 (ทะเลบันดา) ทะเลบันดา ผ่านทางตะวันออกของเกาะเวอตาร์,   อินโดนีเซีย (ที่พิกัด 7°43′S 126°50′E / 7.717°S 126.833°E / -7.717; 126.833 (เวอตาร์))
ผ่านทางตะวันตกของเกาะคิซาร์,   อินโดนีเซีย (ที่พิกัด 8°2′S 127°8′E / 8.033°S 127.133°E / -8.033; 127.133 (คิซาร์))
8°20′S 127°0′E / 8.333°S 127.000°E / -8.333; 127.000 (ติมอร์เลสเต)   ติมอร์-เลสเต
8°41′S 127°0′E / 8.683°S 127.000°E / -8.683; 127.000 (ทะเลติมอร์) ทะเลติมอร์
13°46′S 127°0′E / 13.767°S 127.000°E / -13.767; 127.000 (ออสเตรเลีย)   ออสเตรเลีย รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย
32°18′S 127°0′E / 32.300°S 127.000°E / -32.300; 127.000 (มหาสมุทรอินเดีย) มหาสมุทรอินเดีย ทางการออสเตรเลียถือว่าบริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรใต้[1][2]
60°0′S 127°0′E / 60.000°S 127.000°E / -60.000; 127.000 (มหาสมุทรใต้) มหาสมุทรใต้
66°31′S 127°0′E / 66.517°S 127.000°E / -66.517; 127.000 (แอนตาร์กติกา) แอนตาร์กติกา ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี, อ้างสิทธิ์โดย   ออสเตรเลีย

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Darby, Andrew (22 December 2003). "Canberra all at sea over position of Southern Ocean". The Age. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.
  2. "Indian Ocean". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.