เนฟิลีน(อังกฤษ: nepheline) หรืออาจจะเรียกว่า เนฟิไลน์(Nephelite(จากGreek: νέφος, "เมฆ"), เป็นกลุ่มเฟลสปาตอย(feldspathoid): ซิลิกาอลูมินาต่ำกว่าปกติ,สูตรเคมี Na3KAl4Si4O16, ที่เกิดในหินภูเขาไฟและหินอัคนีบาดาลที่มีซิลิกาต่ำและในกลุ่มของพวกเพคมาไทน์(pegmatites) ในบางครั้งอาจพบในไมกาชีส(mica schist )และ หินไนส์(gneiss)

เนฟิลีน
การจำแนก
ประเภทแร่ซิลิเกต
สูตรเคมี(Na,K)AlSiO4
คุณสมบัติ
มวลโมเลกุล146.08
สีขาว, เทา, น้ำตาล, น้ำตาลอมเทา,แดงอมขาว
รูปแบบผลึกเป็นก้อนใหญ่ถึงเป็นลักษณะของแท่งผลึก
โครงสร้างผลึกHexagonal Space Group: P 63
การเกิดผลึกแฝดOn [1010], [3365], and [1122]
แนวแตกเรียบ[1010] Poor
รอยแตกSubconchoidal
ค่าความแข็ง6
ความวาววาวแก้ว - วาวมัน
ดรรชนีหักเหnω = 1.529 - 1.546 nε = 1.526 - 1.542
คุณสมบัติทางแสงUniaxial (-)
ค่าแสงหักเหสองแนวδ = 0.003 - 0.004
สีผงละเอียดขาว
ความถ่วงจำเพาะ2.55 - 2.65, average = 2.59
คุณสมบัติอื่นไม่มีสมบัติทางกัมมันตรังสี, ไม่มีความเป็นแม่เหล็ก, ไม่มีสมบัติเรืองแสง
อ้างอิง: [1][2][3]
ผลึกเนฟิลีนเทาอมขาวมีสีดำแทรกด้วยschorlomite จากภูเขาBou-Agrao ที่ราบสูง Atlas มอรอคโค (ขนาก: 6.0 x 4.4 x 3.8 ลูกบากศ์เซนติเมตร)

ผลึกเนฟิลีนเป็นผลึกที่หายากและอยู่ในระบบหกเหลี่ยม(hexagonal system)โดยปกติจะมีรูปแบบสั้น, ปริซึมหกเหลี่ยมไปตามแนวฐานผลึก ความไม่สมมาตรที่เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นธรรมชาติที่เห็นได้ชัดเจนคาดว่าหน้าของผลึกเป็นตัวบ่งชี้ แต่อย่างไรก็ตามผลึกเป็นเฮมิมอร์ฟิก(hemimorphic) และ เตตระโรฮีดรัล(tetartohedral), องค์ประกอบเดียวที่สมมาตรคือขั้วแกนฮีแซค (hexad axis) มันยังพบในเนื้อที่แน่นเม็ดเล็กที่รวมตัวกันและสามารถเป็นสีขาว, สีเหลือง, สีเทา, สีเขียวหรือแม้แต่สีแดง (ในลักษณะความหลากหลายของอีโอไลน์ (eleolite)) ความแข็ง 5.5 - 6, และความถ่วงจำเพาะ 2.56-2.66 มันมักจะโปร่งแสงที่มีความเป็นมันเงา

ในเนฟิลีนมีดัชนีการหักเหต่ำและมีค่าdouble refractionต่ำมากเกือบจะเหมือนกับควอตซ์(quart)แต่เนื่องจากในเนฟิลีน มีค่า double refraction เป็นลบในขณะที่ควอตซ์มีค่าเป็นบวก ทั้งสองแร่ธาตุจะมีความโดดเด่นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ซึ่งสามรถดูได้ง่าย ลักษณะสำคัญที่เป็นตัวกำหนดสามารถละลายได้ง่ายในกรดไฮโดรคลอริกจะละลายออกมาเป็นวุ้นซิลิกา (ซึ่งอาจใช้การย้อมสีซึ่งดูได้ง่าย) และใช้กรดเกลือได้เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้ผลึกที่ชัดเจนของเนฟิลีนจะเป็นกลุ่มก้อนเมื่อแช่หรือจุ่มในกรด

แม้ว่าโซเดียมและโพแทสเซียมมักปรากฏในธรรมชาติจะเกิดมีเนฟิลีนในอัตราส่วนอะตอมประมาณ (3:1), ผลึกมีองค์ประกอบ NaAlSiO4; ถ้าโพแทสเซียมมาเกี่ยวข้อจะมีสูตรเคมี KAISiO4, ซึ่งเป็นแร่คาลิโอไทน์(kaliophilite), จึงมีการ ให้สูตรของ orthosilicate, (Na,K)AlSiO4, แทนองค์ประกอบที่แท้จริงของเนฟิลีน(nepheline)

แร่เป็นหนึ่งในความสำคัญโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงไปในผลิตภัณฑ์และห้องปฏิบัติการต่างๆ สามารถเปลียนผลิตภัณฑ์ของเนฟิลีน(nepheline)ที่เตรียมไว้ด้วย ในธรรมชาติบ่อยครั้งที่จะมีการถูกเปลี่ยนแปลงไปเป็นซีโอไลน์(zeolite)(โดยเฉพาะ natrolite),โซดาไลน์(sodalite),เกาลิน(kaolin) หรือมัสโคไวน์ที่มีเนื้อแน่น(compact muscovite) , Gieseckite และ liebenerite จะเป็นพวก pseudomorphs

สองประเภทของเนฟิลีนมีการจำแนกโดยมีความแตกต่างในลักษณะภายนอกของทั้งสองเภทประและในลักษณะของการเกิดการเป็นคล้ายกับความสัมพันธ์หลายอย่างของซานิดีน(sanidine) และ ออโทเคส(orthoclase) ตามลำดับ ลักษณะเนฟิลีนที่วาวแก้วมีรูปแบบขนาดเล็ก ไม่มีสี ผลึกโปร่งใสและมีเม็ดที่มีความวาวคล้ายแก้ว มันเป็นลักษณะของหินภูเขาไฟที่ภเต็มไปด้วยพวกอัลคาไลน์(alkali) เช่น ฟิโนคลิส(phonolite),เนฟิลีนบะซอล(nepheline basalt),ลูไซบะซอล(basalt leucite) ฯลฯ และยังคงมีของสายของหินเช่นทินกัวไลน์(tinguaite) ผลึกที่ดีที่สุดเกิดกับไมกา(mica),ซานิดีน(sanidine), โกเมน ฯลฯ ในแอ่งของสายผลึกเรียงรายของปล่อยบล็อกมาใน Monte Somma, Vesuvius ในประเภทอื่นๆของเนฟิลีน หรือที่เรียกกันว่าอีเลโอไลน์(elaeolite) เกิดขึ้นมีขนาดใหญ่มีผลึกหยาบหรือบ่อยครั้งมักจะเป็นเนื้อไม่สม่ำเสมอซึ่งมีความเงามันและมีสีขาวขุ่นหรือโปร่งแสงที่มากที่สุด มีสีแดง, สีเขียว, สีน้ำตาลอ่อนหรือสีเทา เป็นรูปแบบองค์ประกอบที่สำคัญของหินอัคนีบาดาลที่มีอัลคาไลน์สูง ของชุดเนฟิลีนไซยิไนส์(syenite nepheline) ซึ่งถูกเปลี่ยนสภาพในทางตอนใต้ของนอร์เวย์

สีและความเป็นมันเงาของอีเลโอไลน์(elaeolite) (ชื่อที่กำหนดโดย MH Klaproth ในปี1809, จากคำภาษากรีกสำหรับน้ำมันและหิน; ภาษาเยอรมันใช้ชื่อว่า Fettstein) เพราะว่าจากมีอยู่จำนวนมากล้อมรอบของแร่ธาตุอื่น ๆ ที่อาจเป็นออไจน์(augite) หรือHornblend(ฮอร์นเบลนด์) บางครั้งพวกแร่เหล่านี้ก่อให้เกิดการแวบวับคลายลักษณะตาของแมวตาและไพฑูรย์และอีเลโอไลน์(elaeolite) เมื่อมีสีเขียวหรือสีแดงที่เข้มและการแสดงของแถบแสงที่ต่างกัน ในบางครั้งเป็นถูกตัดทำเป็นพื้นผิวนูนของอัญมณีและหินสี

อ้างอิง แก้

  •   บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. {{cite encyclopedia}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)