เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2018–19

เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2018–19 เป็นฤดูกาลที่ 76 ของการแข่งขันฟุตบอลถ้วยเยอรมันแบบแพ้คัดออกประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) กับรอบแรกจากหกรอบและจะสิ้นสุดลงในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) กับรอบชิงชนะเลิศที่ สนามกีฬาโอลิมปิก ใน เบอร์ลิน.[1] ทีมชนะเลิศของเดเอ็ฟเบ-โพคาลนั้นจะได้สิทธิ์สำหรับปีถัดไปของ ยูฟายูโรปาลีก, ถ้าไม่ได้สิทธิ์อยู่แล้วสำหรับ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ผ่านอันดับในลีก.

2018–19 เดเอ็ฟเบ-โพคาล
เยอรมัน คัพ
ประเทศGermany
วันที่แข่งขัน17 สิงหาคม ค.ศ. 2018 – 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2019
จำนวนทีม64
ชนะเลิศบาเยิร์นมิวนิก (19 title)
รองชนะเลิศแอร์เบ ไลพ์ซิช
ยูโรปาลีกเฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค[note 1]
สนามชิงชนะเลิศสนามกีฬาโอลิมปิก
ผลรอบชิงชนะเลิศ3–0
จำนวนนัด63
จำนวนประตู247 (3.92 ประตูต่อนัด)
จำนวนผู้ชม1,348,580 (21,406 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดรอแบร์ต แลวันดอฟสกี (7 ประตู)
ประตูที่ทำได้ในการยิงลูกโทษไม่นับรวม.

ตารางการแข่งขันในแต่ละรอบ แก้

แต่ละรอบของการแข่งขันฤดูกาล 2018–19 ที่มีกำหนดไว้ดังต่อไปนี้:[2][3]

  • รอบแรก: 17–20 สิงหาคม 2561
  • รอบสอง: 30–31 ตุลาคม 2561
  • รอบ 16 ทีมสุดท้าย: 5–6 กุมภาพันธ์ 2562
  • รอบก่อนรองชนะเลิศ: 2–3 เมษายน 2562
  • รอบรองชนะเลิศ: 23–24 เมษายน 2562
  • รอบชิงชนะเลิศ: 25 พฤษภาคม 2562 ที่ สนามกีฬาโอลิมปิก, เบอร์ลิน

แมตช์การแข่งขัน แก้

รอบแรก แก้

การจับสลากสำหรับรอบแรกจะจัดขึ้นในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) ในเวลา 22:00 (เวลาท้องถิ่น), กับ พาลินา โรจินสกี จะเป็นผู้ทำการจับสลากในรอบนี้.[4] สามสิบสองนัดจะทำการลงเล่นตั้งแต่วันที่ 17 ถึง 20 สิงหาคม พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).[5]

17 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เอฟเซ ชไวน์ฟูร์ท0–2ชัลเคอ 04ชไวน์ฟูร์ท
20:45 รายงาน บินฏอลิบ   24' (ลูกโทษ)
จาบิรี   75' (เข้าประตูตัวเอง)
สนามกีฬา: วิลลี-ซาชส์-ชตาดีโยน
ผู้ชมในสนาม: 15,060 คน
ผู้ตัดสิน: อาร์เนอ อาอาร์นิงค์
18 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เอสเฟา ลิงซ์1–2เอฟเซ เนือร์นแบร์กเคห์ล[note 2]
15:30 รูบิโอ   21' (ลูกโทษ) รายงาน อิชัค   15'88' สนามกีฬา: ไรน์ชตาดิโอน
ผู้ชมในสนาม: 5,600 คน
ผู้ตัดสิน: สเวน วัสชิตสกี
18 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เตอูเอ็ส ดัสเซินดอร์ฟ0–1เอ็มเอสเฟา ดุยส์บูร์กฮัมบวร์ค[note 4]
15:30 รายงาน ทาชชี   24' สนามกีฬา: ชตาดิโอน ซันแดร์ ทันเนิน
ผู้ชมในสนาม: 3,500 คน
ผู้ตัดสิน: อาเล็กซันเดอร์ ซาแทร์
18 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เอสเฟา ดร็อชแทร์เซิน/อัสเซิล0–1บาเยิร์นมิวนิกดร็อชแทร์เซิน
15:30 รายงาน แลวันดอฟสกี   82' สนามกีฬา: เคห์ดินแกร์ ชตาดิโอน
ผู้ชมในสนาม: 8,000 คน
ผู้ตัดสิน: ทอร์เบิน ไซเวอร์
19 สิงหาคม พ.ศ. 2561 แอลโอเค สเตินดัล0–5อาร์มีเนีย บีเลเฟิลด์สเตินดัล
15:30 รายงาน โอวูซู   11'61'
ชิปป์ล็อก   63'69' (ลูกโทษ)
ชูตซ์   66'
สนามกีฬา: ชตาดิโอน อัม โฮลซ์เชิน
ผู้ชมในสนาม: 3,000 คน
ผู้ตัดสิน: คริสเตียน ดิเอตซ์
19 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เทเอ็สเฟา สไตน์บัค ไฮเกอร์1–2เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์คไฮเกอร์
15:30 แฮร์ซิก   55' รายงาน ริชเตอร์   14'
ฮาห์น   65'
สนามกีฬา: ซิเบร-ชปอร์ตเซนตรุม ฮาอาร์วาเซิน ไฮเกอร์
ผู้ชมในสนาม: 4,204 คน
ผู้ตัดสิน: มาร์ติน ทอมเซิน
19 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ไวเชอ เฟลินส์บวร์ค1–0เฟาเอ็ฟแอ็ล โบคุมเฟลินส์บวร์ค
15:30 ชุลซ์   34' รายงาน สนามกีฬา: มันเฟรด-แวร์เนอร์-ชตาดิโอน
ผู้ชมในสนาม: 3,500 คน
ผู้ตัดสิน: เรอเน โรห์เดอ
19 สิงหาคม พ.ศ. 2561 วิคตอเรีย เคิล์น1–3แอร์เบ ไลพ์ซิชโคโลญ
15:30 กอลลีย์   39' รายงาน โพลเซน   60'
ฟอร์สแบร์ย   69'
ออกุสแต็ง   90+3'
สนามกีฬา: ชปอร์ตปาร์ก โฮเฮินแบร์ก
ผู้ชมในสนาม: 6,000 คน
ผู้ตัดสิน: มาร์ติน เพเทอร์เซน

รอบสอง แก้

การจับสลากสำหรับรอบสองจะจัดขึ้นในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) ในเวลา 18:00, กับ จินา ลุคเคินเคมเปอร์ เป็นผู้ทำการจับสลากในรอบนี้.[6] สิบหกนัดจะทำการลงเล่นตั้งแต่วันที่ 30 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).[7]

30 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เวเฮิน วีสบาเดิน0–3ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟาวีสบาเดิน
20:45 รายงาน ลาซ็อกกา   21'51'
โดกลัส ซังตูส   90+7'
สนามกีฬา: บริตา-อาเรนา
ผู้ชมในสนาม: 11,170 คน
ผู้ตัดสิน: มัทธิอัส เยือลเลินเบ็ค

รอบ 16 ทีมสุดท้าย แก้

การจับสลากสำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้ายจะจัดขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) ในเวลา 18:00, กับ เซอร์ดัล เซเลบิ เป็นผู้จับสลากในรอบนี้.[8] แปดนัดจะทำการลงเล่นตั้งแต่วันที่ 5 ถึง 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019).[9]

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ในเวลา 18:15 (เวลาท้องถิ่น), กับ ฟาเบียน บอห์ม จะเป็นผู้ทำการจับสลากในรอบนี้.[10] สี่นัดจะทำการลงเล่นตั้งแต่วันที่ 2 ถึง 3 เมษายน พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019).[11]

รอบรองชนะเลิศ แก้

การจับสลากสำหรับรอบรองชนะเลิศได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 2019 ในเวลา 18:00, พร้อมกับ ลีนา โกเอบลิงก์ เป็นผู้ทำการจับสลากสำหรับแต่ละนัด.[12] รอบรองชนะเลิศทั้งสองนัดจะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 23 ถึง 24 เมษายน ค.ศ. 2019.[13]


รอบชิงชนะเลิศ แก้

นัดชิงชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 25 พฤษภาคม 2562 ที่สนาม โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[2]

อันดับผู้ทำประตู แก้

ด้านล่างนี้คือผู้ทำประตูสูงสุดของเดเอ็ฟเบ-โพคาล, เรียงลำดับแรกโดยจำนวนประตู, และหลังจากนั้นเป็นเรียงลำดับตามตัวอักษรถ้ากรณีที่จำเป็น.[14] ประตูที่ทำได้ในการดวลลูกโทษคือไม่นำมานับรวม.

อันดับ ผู้เล่น ทีม ประตู
1   รอแบร์ต แลวันดอฟสกี บาเยิร์นมิวนิก 7
2   ปีแยร์-มิเชล ลาซ็อกกา ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา 6
3   รอเบิร์ต กลัตเซิล แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ไฮเดินไฮม์ 4
  ดอดิ ลูเคอบาคิออ ฟอร์ทูนา ดึสเซิลดอร์ฟ
  ไซมอน เทร็อดเด 1. เอ็ฟเซ เคิลน์
6   นิโคลา โดเวดัน 1. เอ็ฟเซ ไฮเดินไฮม์ 3
  มาร์วิน ดุคส์ช ฟอร์ทูนา ดึสเซิลดอร์ฟ
  แซร์ช ญาบรี บาเยิร์นมิวนิก
  มาร์ติน ฮาร์นิค แวร์เดอร์ เบรเมิน
  ตอร์กาน อาซาร์ โบรุสซีอา เมินเชินกลัทบัค
  อูเวอ ฮูเนอไมเออร์ เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น
  ฌูเอลินตง 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์
  โทมัส มึลเลอร์ บาเยิร์นมิวนิก
  อาลาสซาเน แปลอา โบรุสซีอา เมินเชินกลัทบัค
  รัฟฟาเอล โบรุสซีอา เมินเชินกลัทบัค
  มาร์โค ร็อยส์ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
  ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช

หมายเหตุ แก้

  1. Since the winners of the DFB-Pokal qualified for the Champions League based on their league position, the Europa League group stage spot awarded to the DFB-Pokal winner was passed to the sixth-placed team in the Bundesliga, VfL Wolfsburg.
  2. แมตช์ระหว่าง เอสเฟา ลิงซ์ พบ แอร์สเทอเอฟเซ เนือร์นแบร์ก จัดขึ้นที่สนาม ไรน์ชตาดิโอนในเคห์ลแทนที่สนามเหย้าของเอสเฟา ลิงซ์.
  3. แมตช์ระหว่าง เอสเฟา รือดิงก์เฮาเซิน พบ ดีนาโม เดรสเดิน จัดขึ้นที่สนาม ฟริโม ชตาดิโอนในลอทเทอแทนที่สนามเหย้าของ เอสเฟา รือดิงก์เฮาเซิน.
  4. แมตช์ระหว่าง เตอูเอ็ส ดัสเซินดอร์ฟ พบ เอ็มเอสเฟา ดุยส์บูร์ก จัดขึ้นที่สนาม ชตาดิโอน ซันแดร์ ทันเนิน ในฮัมบวร์ค แทนที่สนามเหย้าของ เตอูเอ็ส ดัสเซินดอร์ฟ.
  5. แมตช์ระหว่าง เตอูเอ็ส แอร์นด์เตบรู๊ค พบ ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา จัดขึ้นที่สนาม ไลม์บัคชตาดิโอน ในซีเกิน แทนที่สนามเหย้าของ เตอูเอ็ส แอร์นด์เตบรู๊ค.
  6. แมตช์ระหว่าง ร็อต-ไวส์ โคเบลินซ์ พบ ฟอร์ทูนา ดึสเซิลดอร์ฟ จัดขึ้นที่สนาม ชตาดิโอน โอเบอร์เวิร์ท ในโคเบลินซ์ แทนที่สนามเหย้าของ ร็อต-ไวส์ โคเบลินซ์.
  7. แมตช์ระหว่าง เบเอ็ฟเซ ดีนาโม พบ แอร์สเทอ เอฟเซ เคิล์น จัดขึ้นที่สนาม โอลึมพีอาชตาดีอ็อน ในเบอร์ลิน แทนที่สนามเหย้าของ เบเอ็ฟเซ ดีนาโม.
  8. แมตช์ระหว่าง เอ็สเอ็สเฟา เยิดเดอโลห์พบ 1. เอ็ฟเซ ไฮเดินไฮม์ จัดขึ้นที่สนาม มาร์สชเว็ก-ชตาดิโอน ในโอลเดินบวร์ค แทนที่สนามเหย้าของ เอ็สเอ็สเฟา เยิดเดอโลห์.
  9. แมตช์ระหว่าง เบเอ็สเซ ฮาสเตดต์ พบ โบรุสซีอา เมินเชินกลัทบัค จัดขึ้นที่สนาม เวเซอร์ชตาดิโอน ปลัตซ์ 11 ในเบรเมิน แทนที่สนามเหย้าของ เบเอ็สเซ ฮาสเตดต์.
  10. The Darmstadt 98 v Hertha BSC match, originally scheduled for 18:30 CET, was delayed to 18:45 CET due to a traffic jam around the stadium.
  11. The SV Rödinghausen v Bayern Munich match took place at the Stadion an der Bremer Brücke in Osnabrück instead of SV Rödinghausen's home stadium.
  12. The Weiche Flensburg v Werder Bremen match took place at the Stadion Lohmühle in Lübeck instead of Weiche Flensburg's home stadium.

อ้างอิง แก้

  1. "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender". dfb.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 2 December 2016. สืบค้นเมื่อ 2 December 2016.
  2. 2.0 2.1 "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender 2018/2019" [DFB executive committee adopts 2018–19 framework schedule]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 8 December 2017. สืบค้นเมื่อ 8 December 2017.
  3. "Entwurf Rahmenterminkalender 2018/2019" [Draft 2018–19 framework schedule] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 8 December 2017. สืบค้นเมื่อ 3 February 2018.
  4. "Palina Rojinski lost erste Runde aus" [Palina Rojinski draws the first round]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 5 June 2018. สืบค้นเมื่อ 5 June 2018.
  5. "SV Drochtersen/Assel empfängt den FC Bayern München" [SV Drochtersen/Assel welcomes Bayern Munich]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 8 June 2018. สืบค้นเมื่อ 8 June 2018.
  6. "Gina Lückenkemper lost 2. Pokalrunde aus" [Gina Lückenkemper to draw the Pokal second round]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 20 August 2018. สืบค้นเมื่อ 20 August 2018.
  7. "Traumlos: Rödinghausen empfängt FCB" [Dream draw: Rödinghausen receives FCB]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 26 August 2018. สืบค้นเมื่อ 26 August 2018.
  8. "Blindenfußballer Celebi lost DFB-Pokalachtelfinale aus" [Blind footballer Celebi draws DFB-Pokal quarter-finals]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 26 October 2018. สืบค้นเมื่อ 26 October 2018.
  9. "Achtelfinale: Hertha empfängt die Bayern" [Round of 16: Hertha welcomes Bayern]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 4 November 2018. สืบค้นเมื่อ 4 November 2018.
  10. "Handballer Böhm lost Viertelfinale aus" [Handball player Böhm draws quarter-finals]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 31 January 2019. สืบค้นเมื่อ 1 February 2019.
  11. "Viertelfinale: Rekordsieger FC Bayern gegen Zweitligist Heidenheim" [Quarter-finals: Record winners FC Bayern against second league team Heidenheim]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 10 February 2019. สืบค้นเมื่อ 10 February 2019.
  12. "Lena Goeßling lost DFB-Pokalhalbfinale aus" [Lena Goeßling draws DFB-Pokal semi-finals]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 2 April 2019. สืบค้นเมื่อ 2 April 2019.
  13. "Auslosung: Bremen vs. Bayern, HSV vs. Leipzig" [Draw: Bremen vs. Bayern, HSV vs. Leipzig]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 7 April 2019. สืบค้นเมื่อ 7 April 2019.
  14. "DFB-Pokal – Scorer" [DFB-Pokal – Scorers]. kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker-sportmagazin. สืบค้นเมื่อ 17 August 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้