ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์

(เปลี่ยนทางจาก เกคิเรนเจอร์)

ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ หรือในชื่อภาษาญี่ปุ่น จูเคนเซ็นไต เกคิเรนเจอร์ (ญี่ปุ่น: 獣拳戦隊ゲキレンジャーโรมาจิJūken Sentai Gekirenjāทับศัพท์: Jūken Sentai Gekiranger) เป็นละครโทรทัศน์โทคุซัทสึ จากละครชุดซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์ ลำดับที่ 31 ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 จนถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 ทางสถานี ทีวีอาซาฮิ ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30 - 8.00 น. มีจำนวนตอนทั้งหมด 49 ตอน

ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์
เกคิเรนเจอร์ ขบวนการนักสู้ขบวนที่ 31 จากปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007)
ประเภทTokusatsu
สร้างโดยToei
เขียนโดย
กำกับโดย
แสดงนำ
บรรยายโดยKei Grant
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด"Juken Sentai Gekiranger" by Takayoshi Tanimoto
ดนตรีแก่นเรื่องปิด"Tao" by Ichirou Mizuki
ผู้ประพันธ์เพลงKazunori Miyake
ประเทศแหล่งกำเนิดJapan
จำนวนตอน49 (รายชื่อตอน)
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้าง
ความยาวตอน24-25 minutes (per episode, excluding commercials), 30 minutes
ออกอากาศ
เครือข่ายญี่ปุ่น tv asahi
ไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5
ออกอากาศญี่ปุ่น 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 (2007-02-19) - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 (2008-02-10)
ไทย 17 ตุลาคม ค.ศ. 2009 (2009-10-17) –
18 กันยายน ค.ศ. 2010 (2010-09-18)

ภาพรวม แก้

เนื้อเรื่อง แก้

ปีค.ศ. 2007 มิคิ ที่ได้เป็นเลขาผู้บริหาร สาขาญี่ปุ่น ได้รับภารกิจในการปกป้องกำไล 3 ห่วง จาก รินจูเคน อาคุงาตะ สำนักวิชาจูเคนที่ชั่วร้ายโดยริโอเป็นผู้ก่อตั้งโดยการใช้วิชาต้องห้ามในการคืนชีพศพให้มีชีวิตอีกครั้ง , มิคิ ได้ประสพอุบัติเหตุจนเครื่องบินตกลงไปในป่าแห่งหนึ่ง และได้รับการช่วยเหลือจาก กันโด จาง เด็กหนุ่มชาวป่าที่ชื่นชอบการเล่นมวยปล้ำกับหมีแพนด้า แม้จะได้รับการช่วยเหลือจากชาวป่าแต่กลับต้องสูญเสียกำไล 3 ห่วงไป และยังทำให้จาง บาดเจ็บ จนต้องนำจางไปรักษาตัวที่บริษัท SCRTC

เมื่อจางฟื้นขึ้นมา ด้วยความแปลกถิ่นทำให้จางสนใจและตื่นเต้นกับสิ่งแปลกใหม่รอบๆตัว จนทำให้เกิดความวุ่นวายขึ้นมา, อุซาคิ รัน หญิงสาวที่เข้าสำนักเพื่อต้องการหนีการแต่งงานแบบคลุงถุงชน และความวุ่นวายของจางทำให้รบกวนการฝึกของ ฟุคามิ เร็ตสึ น้องชายของโก ที่เข้าสำนักบีสต์อาร์ตตามคำชวนของมิคิพร้อมกับต้องการตามหาพี่ชายคนเดียวของเขา จาง สนใจในพลังจูเคนของเร็ตสึ และ รัน เข้าแต่ยังไม่ทันที่จะได้ฝึก จางต้องเข้ามาพัวพันกับการต่อสู้กับศัตรูที่ต้องการใช้วิชาจูเคนในการยึดครองโลก โดยที่ สัมผัสที่ 6 ของจางรับรู้ถึงการปรากฏตัวของอาคุงาตะ และด้วยสัมผัสที่ 6 ของจาง เป็นเหตุให้มาสเตอร์ ซาฟู เลือกจางเป็นเกคิเรนเจอร์ โดยที่เร็ตสึและรัน ต่างไม่เห็นด้วยกับการกระทำของมาสเตอร์ ซาฟูแต่ทำอะไรไม่ได้เนื่องจากชะตาลิขิตได้ถูกกำหนดไว้ตั้งแต่ต้น และ ด้วยความบังเอิญที่มิคิ ได้เจอกับจาง ลูกชายที่หายสาบสูญไปของแดน ทำให้มาสเตอร์ ซาฟู จงใจที่จะเลือกจางเป็นเกคิเรนเจอร์

ภายหลังจากการเป็นเกคิเรนเจอร์ จางต้องปรับตัวกับการดำรงชีวิตแบบมนุษย์ทั่วไปและยังต้องเรียนรู้ภาษา แม้ว่าเขาจะรู้คำ ไวยากรณ์ง่ายๆก็ตาม แต่เนื่องด้วยการที่อาศัยในป่าเป็นเวลานานและอุบัติเหตุในวัยเยาว์ ทำให้การเรียนรู้ของจางจึงบกพร่องในบางจุด แต่ในที่สุดสามารถฝ่าฟันปัญหาดังกล่าวได้พร้อมกับความจริงอันน่าเศร้าที่จางต้องแบกรับชะตากรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ตัวละคร แก้

พลังและความสามารถของเกคิเรนเจอร์ แก้

อุปกรณ์ทั่วไป แก้

เกคิสูท (ゲキスーツ)
ชุดแปลงร่างสวมใส่ของสมาชิกเกคิเรนเจอร์ มีความสามารถในการตอบสนองต่อความโกรธของร่างกายของผู้สวมชุด
ชุดสูทของเรด, เยลโล่, บลู, ไวโอเล็ต ไม่มีเข็มขัดรอบตัว ยกเว้นสูทของช็อปเปอร์ที่มีลักษณะลวดลายเป็นชุดกีคาราเต้
เกคิเชนเจอร์ (ゲキチェンジャー)[1][2]
อุปกรณ์แปลงร่างของเกคิเรนเจอร์ รูปทรงสนับมือ เป็นแหล่งสะสมพลัง เกคิวาสะ ทางจิตของผู้สวมใส่ รหัสแปลงร่างคือ เตรียมตัวให้พร้อม พลังแห่งสรรพสัตว์! บีสต์ ออน! (たぎれ、獣の力!ビースト・オン!)
ซูเปอร์เกคิคลอว์ (スーパーゲキクロー)
อุปกรณ์ที่ใช้แปลงร่างเป็นซูเปอร์เกคิเรนเจอร์ ผ่านไปยังพลังคาเกคิ รูปทรงกงเล็บในรูปแบบสนับมือ มีทั้งหมด 3 สี มีพลังในการโจมตีและป้องกันสูง เป็นอุปกรณ์ที่เหล่ามาสเตอร์ไทรแองเกิ้ล นำมามอบให้แก่เกคิเรนเจอร์ เพื่อไว้ใช้ในการรับมือกับรินจูเคน อาคุงาตะ ที่แข็งแกร่งขึ้น รหัสแปลงร่างคือ ซูเปอร์ บีสต์ ออน! (スーパービースト・オン!)
เกคิบาซูก้า (ゲキバズーカ)[1][2]
ปืนใหญ่ของเกคิเรนเจอร์ เมื่อดึงคันโยกที่ด้านหลังปืนจะสามารถเปิดปากกระบอกปืนรูปแมวป่าได้ โดยทีมงานผู้ออกแบบได้นำต้นแบบมาจากมาสเตอร์ซาฟู จึงทำให้เกคิบาซูก้า มีลักษณะคล้ายกับหัวของมาสเตอร์ซาฟู ในช่วงแรก เกคิบาซูก้า มีปัญหาในด้านการบรรจุพลังเกคิวาสะ ทำให้ชาร์จพลังงานได้ช้าและนาน แต่ภายหลังได้ปรับปรุงระบบการชาร์จพลังงานให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ระยาเวลาการชาร์จที่เร็วทีสุด อยู่ที่ 18 วินาที ต่อการยิง 1 ครั้ง สามารถยิงต่อเนื่องได้หลายครั้ง แต่จะทำให้ผู้ใช้สูญเสียพลังงานเกคิวาสะ มากพอสมควร ทำให้ผู้ใช้เกิดอาการอ่อนเพลียได้หลังจากใช้ เกคิบาซูก้า ติดต่อกันเป็นเวลานาน
เกคิเกคิโฮ (激激砲)[3][2]
ซูเปอร์เกคิเกคิโฮ (スーパー激激砲)[3]
สเปเชียลเกคิเกคิโฮ (スペシャル激激砲)[3]
เกคิทอนฟา (ゲキトンファー)[4][5]
เกคิทอนฟา บาทอน (ゲキトンファー・バトン)
เกคิทอนฟารูปแบบกระบองสั้นคู่
เกคิทอนฟา ลองบาทอน (ゲキトンファー・ロングバトン)[6][7]
เกคิทอนฟารูปแบบกระบองยาว ลักษณะคล้ายกับดาบ 2 ปลาย

อาวุธประจำตัว แก้

เกคินุนจั๊ค (ゲキヌンチャク)
อาวุธประจำตัวของเกคิเรด เป็นกระบองนุนจั๊ค 2 ท่อน
เกคิเซเบอร์ (ゲキセイバー)
ดาบยานางิบะคู่ในรูปทรงฉลาม ตัวดาบเป็นสีน้ำเงิน-ดำ
เกคิแฮมเมอร์ (ゲキハンマー)
โซ่ลูกเหล็กรูปงวงช้าง สามารถเหนี่ยวรั้งศัตรูได้
เกคิแฟน (ゲキファン)
พัดเหล็กรูปค้างคาวสามารถโจมตีแบบรุกและรับได้ นอกจากนี้ยังสามารถป้องกันและสะท้อนการโจมตีของศัตรูได้

เกคิวาสะของสมาชิกหลัก แก้

เกคิวาสะของเกคิเรด
โฮโฮดัน (咆咆弾)[3][8]
ไทเกอร์โซคินนาเคะ (タイガー雑巾がけ)[3]
โซคินชิบาริ (雑巾しぼり)[3]
คุรุคุรุเคน (車車拳)[3]
ฮาคุฮาคุซัน (薄薄斬)[3]
โชโชซัน (翔翔斬)[3]
ซุยเรียวฮะ (水流波)[3]
นามินามิซัน (波波斬)[3]
เกคิวาสะของซูเปอร์เกคิเรด
ซูเปอร์ไทเกอร์เกคิ (スーパータイガー撃)[3]
โจเอเอคาเกคิซัน (超鋭鋭過激気斬)[3]
เกคิวาสะของเกคิเยลโล่
ชุนชุนดัน (瞬瞬弾)[3][7]
คันคันดะ (貫貫打)[3]
ดะดะดัน (打打弾)[3]
ชิชินดะ (伸伸打)[3]
โมโมดะ (母母打)[3]
ดันดันกัน (弾弾丸)[3]
ริวเซย์ดัน (流星弾)
เกคิวาสะของซูเปอร์เกคิเยลโล่
ซูเปอร์ชีตาร์เกคิ (スーパーチーター撃)[9]
เกคิเร็ทสึดันดะ (激烈断打)[9]
เกคิวาสะของเกคิบลู
เท็นเท็นดัน (転転弾)[9]
ไมไมดะ (舞舞打)[9]
ไมไมโจ (舞舞跳)[9]
ฮานะฮานะดัน (華華弾)[9][5]
โชโชไม (昇昇舞)[9]
จูจูซัน (宙宙斬)[9]
เกคิวาสะของซูเปอร์เกคิบลู
ซูเปอร์ชีตาร์เกคิ (スーパージャガー撃)[9]
ซูเปอร์ชีตาร์เกคิสเปเชียล (スーパージャガー撃スペシャル)[9]
แฟนตาสติกคาเกคิซัน (ファンタスティック過激気斬)[9]
เกคิเร็ทสึดันโช (激烈断掌)[9]
ท่าประสานของสมาชิกหลัก
คนคนโช (魂魂掌)[9]
ท่าประสานของซูเปอร์เกคิเรนเจอร์
ซูเปอร์ทริปเปิลเกคิ (スーパートリプル撃)[9]
ซูเปอร์ดับเบิลเกคิ (スーパーダブル撃)

อาวุธและท่าของเกคิไวโอเล็ต แก้

ก็องเชนเจอร์ (ゴングチェンジャー)[10][11]
อุปกรณ์แปลงของเกคิไวโอเล็ต รูปทรงมาจากกำไลข้อมือผสมกับระฆังชกมวย สามารถเปิดปิดบานพับได้ สามารถใช้พลังชิเกคิได้อย่างเต็มที่ รหัสแปลงร่างคือ จงกึกก้อง เสียงร้องของสรรพสัตว์! บีสต์ ออน! (響け、獣の叫び!ビースト・オン)
กองกองเคน (厳厳拳)[9][11]
บันบันจู (蛮蛮肘)[9]
โจบันบันจู (超蛮蛮肘)[9][11]
โรโรจู (狼狼蹴)[9]
โกโกจู (剛剛撃)[9]
โชโชเคน (昇昇拳)[9]
บินบินเคน (敏敏拳)[9]
เท็นจิเท็นเฮ็นดะ (天地転変打)[9][11]

อาวุธและท่าของเกคิช็อปเปอร์ แก้

ไซเบลด (サイブレード)[12][13]
อุปกรณ์แปลงและอาวุธประจำตัวของเกคิช็อปเปอร์ สามารถใช้งานอเนกประสงค์ได้ทุกแบบ รหัสแปลงร่างคือ คมเฉียบ! ใบมีดสรรพสัตว์! บีสต์ ออน! (研ぎ澄ませ!獣の刃!ビースト・オン) โดยใช้งานร่วมกับเกคิเชนเจอร์แล้วดันคันโยกสีเงินส่วนบนของไซเบลดขึ้น และกดปุ่มขวาสีเงินเพื่อทำการแปลงร่าง สามารถแปลงเป็น ไซเบลดฟิงเกอร์ (サイブレードフィンガー)[12][13] รูปแบบดาบ เมื่อพับส่วนของใบมีดไปด้านหน้า จะทำให้ต่อสู้ด้วยใบมีดขนาดยักษ์ และ ไซเบลดคัตเตอร์ (サイブレードカッター)[12][13] มีอานุภาพที่รุนแรงสามารถตัดหินผาออกเป็นส่วนๆ ได้ในพริบตาและสามารถผ่าแยกน้ำออกจากกันอย่างสบายๆ
ซูเปอร์ไซเบลด (スーパーサイブレード)[12][13]
ไซเบลดที่ประกอบร่วมกับซูเปอร์เกคิคลอว์ โดยทำการดึงคันโยกสีเงินของไซเบลดขึ้นแล้วประกอบเข้ากับส่วนของกรงเล็บซูเปอร์เกคิคลอว์จากนั้นพับคันโยกลง
โซจูโต (操獣刀)[13]
เอเอโต (鋭鋭刀)[9]
ท่าไม้ตายที่สะสมพลังไว้ที่นิ้วมือ จากนั้นพลังจะถูกส่งไปยังใบมีดจนเกิดลำแสงสีส้มทั่วใบมีด จากนั้นผ่าศัตรูออกเป็น 2 ส่วน ด้วย ไซเบลดคัตเตอร์ คล้ายกับการใช้ท่าส้นมือ ผ่ากระเบื้องหรือสิ่งของ ออกเป็น 2 ส่วน
จูเก็นเรียวเอเอโต (獣源流鋭鋭刀)[9]
เน็นเน็นดัน (捻捻弾)[9]
ท่าปล่อยกระสุนลำแสงออกจากนิ้วมือของไซเบลดฟิงเกอร์ เน้นการยิงศัตรูจำนวนมาก
โชเน็นเน็นดัน (超捻捻弾)[9]
ท่าปล่อยกระสุนลำแสงขนาดใหญ่ออกจากนิ้วมือของไซเบลดฟิงเกอร์ คล้ายกับการยิงมิซไซล์ขนาดกลาง เน้นการยิงใส่ศัตรูโดยตรง
เน็นเน็นดันนามิเระอุจิ (捻捻弾乱れ打ち)[9]
โจเอเอเกคิซัน (超鋭鋭過激気斬)[9]
เซ็นเซ็นซัน (千千斬)[9]

ท่าทั่วไปและท่าประสาน แก้

ไบไบบุนชินเคน (倍倍分身拳)
ไรไรจู (来来獣)[9]
ท่าที่ทำการอัญเชิญเกคิบีสต์ออกมา
ไดโกโกจู (大合合獣)[9]
เกคิโกอิทสึ (激気合一)[3]
โกะโกโก (五合業)[9]
ซันซันซัน (三算参)[9]
เกคิเกคิบีสต์โฮ (激激ビースト砲)[3][2]
ซูเปอร์เกคิเกคิบีสต์โฮ (激激全ビースト砲)[3]
จูจูเซ็นชินเฮ็น (獣獣全身変)
ท่าวิชาต้องห้ามของจูเคน เป็นวิชาที่ทำให้ผู้ใช้จูเคนแปรสภาพร่างกายจากมนุษย์กลายเป็นสัตว์ ตามพลังหมัดที่ใช้ โดยผลลัพธ์ในการใช้วิชานี้คือรูปร่างมนุษย์ที่มีรูปลักษณ์ของสัตว์ ผู้ที่ใช้คือกลุ่ม 7 หมัดศักดิ์สิทธิ์, กลุ่ม 3 เคนมะ, บาเอะ
โดโคคุกัน (慟哭丸)[9]
เกคิจูนิว (激気注入)

เกคิบีสต์ แก้

เกคิไทเกอร์ (ゲキタイガー)
หุ่นพยัคฆ์สีแดง มีต้นแบบมาจากเสือโคร่ง มีจุดเด่นที่ลำตัวค่อนข้างใหญ่ สามารถใช้วิชาเกคิวาสะ "กระสุนคำราม" ได้ แปลงเป็นส่วนหัว แขน และลำตัวถึงต้นขาของหุ่นเกคิโทจา
เกคิชีต้าร์ (ゲキチーター)
หุ่นพยัคฆ์สีเหลือง มีต้นแบบมาจากเสือชีต้าร์ สามารถใช้วิชา "กระสุนแสง" ทำให้เกิดตาพร่ามัวได้ชั่วขณะ และสามารถบินได้เหมือนกับเกคิจากัวร์ แปลงเป็นขาขวาของเกคิโทจา
เกคิจากัวร์ (ゲキジャガー)
หุ่นพยัคฆ์สีน้ำเงิน มีต้นแบบมาจากเสือจากัวร์ มีจุดเด่นที่สวมแว่นกันแดด สามารถใช้วิชาเกคิวาสะ "กระสุนวงจักร" และสามารถบินได้ แปลงเป็นขาซ้ายของหุ่นเกคิโทจา
เกคิอีเลฟเฟนท์ (ゲキエレファント)
ช้างสีน้ำทะเล มีจุดเด่นที่สามารถประกอบกับลูกตุ้มขนาดยักษ์ได้
อาวุธ เอเลแฮมเมอร์บอล สามารถใช้เป็นลูกฟุตบอล หรือ ต่อกับงวงช้าง ได้
เกคิแบท (ゲキバット)
ค้างคาวสีน้ำเงินเข้ม มีจุดเด่นที่ปีกขนาดใหญ่ สามารถเป็นใบมีดยักษ์ได้ นอกจากนี้ยังมีมิซไซล์ที่ด้านข้างลำตัวใช้ในการลอบโจมตี
เกคิชาร์ค (ゲキシャーク)
ปลาฉลามสีฟ้า เป็นฉลามหัวเสือ มีพลังในการโจมตีสูงแลัโจมตีด้วยการกัด
เกคิกอริลล่า (ゲキゴリラ)
หุ่นลิงยักษ์สีดำ-แดง มีต้นแบบมาจากกอริลล่า มีจุดเด่นที่รูปร่างบึกบึนและค่อนข้างใหญ่ ที่เท้าติดโรลเลอร์เบลด ล้อสีส้ม แปลงเป็นส่วนหัว แขน และและลำตัวถึงต้นขาของหุ่นเกคิไฟเยอร์
เกคิเพนกวิน (ゲキペンギン)
หุ่นเพนกวินสีขาว-เหลือง มีต้นแบบมาจากเพนกวิน มีจุดเด่นที่รูปร่างเล็กและน่ารัก แปลงเป็นส่วนเท้าขวาของหุ่นเกคิไฟเออร์ มี เจ็ทบอร์ด (ジェットボード) สโนว์บอร์ดสีดำ-ขาว ใช้ควบคู่กับเกคิเพนกวิน เนื่องจากเกคิเพนกวินมีขนาดเล็กจนไม่สามารถรวมร่างได้ จึงจำเป็นที่จะต้องมีอุปกรณ์เสริม เพื่อให้สามารถรวมร่างกับเกคิบีสต์ตัวอื่นๆ เพื่อเป็นหุ่นยนต์ขนาดยักษ์ได้ แปลงเป็นขาขวาของหุ่นเกคิไฟเยอร์
เกคิกาเซล (ゲキガゼル)
หุ่นกาเซลสีขาว-ดำ-น้ำเงิน มีต้นแบบมาจากกวางป่า มีจุดเด่นที่เขาทั้ง 2 ข้างเป็นเขาสีส้ม แปลงเป็นขาซ้ายของหุ่นเกคิไฟเยอร์
เกคิวูลฟ์ (ゲキウルフ)
หุ่นหมาป่าสีม่วงของเกคิไวโอเล็ต มีต้นแบบมาจากหมาป่า โครงสร้างลำตัวคล้ายกับเกคิจากัวร์และชีต้าร์ สามารถรวมร่างกับเกคิโทจา โดยแปลงเป็นส่วนขาได้

เทพจูเคน ไซไดน์ แก้

เทพจูเคน ไซไดน์ (獣拳神サイダイン)
หุ่นแรดสีเงินของเกคิช็อปเปอร์ มีต้นแบบมาจากแรด มีจุดเด่นที่รูปร่างใหญ่โต นอสีทอง มีลักษณะคล้ายดาบ สันหลังด้านบนมีพลอยสีแดงประดับอยู่ หลังด้านท้ายมีโล่ของไซไดโอ ติดอยู่ ในอดตี ไซไดน์อยู่ในสภาพรูปปั้นขนาดยักษ์ มีรูปร่างและสภาพร่างกายเหมือนกับสัตว์ ต่างจากเกคิบีสต์ ตัวอื่นๆที่เรียกออกมาและสร้างร่างกายเพื่อทำการต่อสู้ เมื่อไซไดน์ได้รับการตอบสนองคำสั่งจาก โซจูโต ทำให้ไซไดน์ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และคลายสะกดจากรูปแบบรูปปั้น เป็น รูปแบบเกคิบีสต์ นอของไซไดน์ สามารถขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้นได้ ตามคำสั่งจาก โซจูโต นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอดพลัง แก่ เหล่าจูเคน ได้ โดยพลังที่ออกมาจากนอ คล้ายกับพลังแห่งการชำระล้างและพลังเวทมนตร์รักษาบาดแผล

หุ่นรวมร่างจูเคน แก้

เกคิโทจา แก้

เกคิโทจา (ゲキトージャ)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการวมร่างของเสือทั้ง3ตัว ประกอบไปด้วย เกคิไทเกอร์, ชีต้าร์ และ จากัวร์
เกคิอีเลฟเฟนท์โทจา (ゲキエレファントージャ)
เกิดจากการรวมร่างของเกคิโทจาและเกคิอีเลฟเฟนท์ มีลูกตุ้มเป็นอาวุธ
เกคิแบ็ทโทจา (ゲキバットージャ)
เกิดจากการรวมร่างของเกคิโทจาและเกคิแบ็ท มีใบมีดขนาดใหญ่ที่ปีก เป็นอาวุธ น้นการโจมตีทางอากาศเป็นหลัก
เกคิชาร์คโทจา (ゲキシャークトージャ)
เกิดจากการรวมร่างของเกคิโทจาและเกคิชาร์ค มีลักษณะเด่นที่หมวกใหญ่กว่าฟอร์มอื่นๆ มีใบมีดที่แขนทั้ง2ข้าง เป็นอาวุธ เน้นการโจมตีทางน้ำเป็นหลัก
เกคิโทจาวูลฟ์ (ゲキトージャウルフ)
เกิดจากการรวมร่างของ เกคิไทเกอร์,เกคิจากัวร์และเกคิวูลฟ์ โดยเกคิวูลฟ์ ทำหน้าที่เป็นขาขวาแทนเกคิชีต้าร์ ต่อสู้ด้วยการเตะแบบมวยไทยเป็นหลัก
เกคิแบ็ทโทจาวูลฟ์ (ゲキバットージャウルフ)
เกิดจากการรวมร่างของ เกคิโทจาวูลฟ์ และ เกคิแบ็ท

เกคิไฟเยอร์ แก้

เกคิไฟเยอร์ (ゲキファイヤー)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ เกคิกอริลล่า, เพนกวิน, กาเซล มีแขนอันทรงพลังและใช้เป็นท่าไม้ตายหลัก
เกคิอีเลฟเฟนท์ไฟเยอร์ (ゲキエレファントファイヤー)
เกิดจากการรวมร่างของเกคิไฟยอร์และเกคิอีเลฟเฟนท์ สามารถใช้เอเลแฮมเมอร์บอล แปรสภาพเป็นลูกบาสเก็ตบอลได้
เกคิแบ็ทไฟเยอร์ (ゲキバットファイヤー)
เกิดจากการรวมร่างของเกคิไฟเยอร์และเกคิแบ็ท สามารถบินไปยังอวกาศได้ แต่มีพลังการโจมตีต่ำที่สุดในบรรดาการรวมร่างของเกคิไฟเออร์
เกคิชาร์คไฟเยอร์ (ゲキシャークファイヤー)
เกิดจากการรวมร่างของเกคิไฟเยอร์และเกคิชาร์ค

เทพยักษ์จูเคน ไซไดโอ แก้

เทพยักษ์จูเคน ไซไดโอ (獣拳巨神サイダイオー)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการเปลี่ยนร่างของไซไดน์ ด้วยพลังของโซจูโตะ ลักษณะเด่นของไซไดโอ คือ มีร่างกายขนาดใหญ่ สีของหุ่นเป็นสีเงินสลับม่วง มือขวาแปรสภาพมาจากส่วนหัวของไซไดน์ มีดาบสีทองขนาดยักษ์ (อันเกิดจากนอของไซไดน์) เป็นอาวุธ มือซ้ายมีโล่เป็นอาวุธ ส่วนหัวมี2รูปแบบคือ รูปแบบป้องกัน ลักษณะคล้ายกับหมวกของนักรบ มีลวดลายคล้ายกับหน้ากากของเกคิช็อปเปอร์ สีของส่วนหัวเป็นสีเงิน-ทอง ไว้ใช้ในการป้องการโจมตีของศัตรู และรูปแบบที่แท้จริง โดยรูปแบบที่แท้จริง ลักษณะของหมวกคล้ายกับมงกุฏ สีของส่วนหัวเน้นสีแดง-ทอง เป็นหลัก เปิดเผยใบหน้าที่แท้จริง (ดวงตาสีฟ้า ใบหน้าคล้ายมนุษย์)
ไซไดเกคิไฟเยอร์ (サイダイゲキファイヤー)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ เกคิไฟเยอร์, เกคิวูลฟ์ และ ไซไดโอ เข้าไว้ด้วยกัน โดยใช้ ไซไดน์เป็นฐาน, เกคิวูลฟ์ ยืนบนหลังส่วนหน้าของไซไดน์, เกคิเพนกวินและ เจ็ทบอร์ด ประกบที่ด้านข้างขวา, เกคิกาเซล ประกบที่ด้านข้างซ้าย, เกคิกอริลล่า ยืนบนด้านหลังช่วงบั้นท้ายของไซไดน์
ไซไดเกคิโทจา (サイダイゲキトージャ)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ เกคิโทจา , เกคิวูลฟ์ และ ไซไดโอ โดยมีลักษณะคล้ายกับไซไดเกคิไฟเยอร์
ไซไดเกคิรินโทจา (サイダイゲキリントージャ)
หุ่นยนต์ร่างสุดยอดที่เกิดจากการรวมร่างของ เกคิ ริน โทจา , เกคิวูลฟ์ และ ไซไดโอ เข้าไว้ด้วยกัน

ข้อมูลจำเพาะของเกคิบีสต์, รินบีสต์ และ หุ่นรวมร่างจูเคน แก้

ชื่อ ส่วนสูง ความกว้าง ความยาว น้ำหนัก ความเร็ว แรงกำลัง
เกคิไทเกอร์ 22.5 เมตร[14] 32.7 เมตร[14] 49.7 เมตร[14] 1,400 ตัน[14] 420 กม. / ชม.[14] 9 ล้านแรงม้า[14]
เกคิชีต้าร์ 20.4 เมตร[14] 12.4 เมตร[14] 38.8 เมตร[14] 350 ตัน[14] 600 กม. / ชม.[14] 3 ล้านแรงม้า[14]
เกคิจากัวร์ 19.1 เมตร[14] 44.7 เมตร[14] 350 ตัน[14] 510 กม. / ชม.[14]
เกคิอีเลฟเฟนท์ 22 เมตร[14] 22 เมตร[14] 32 เมตร[14] 1,800 ตัน[14] 360 กม. / ชม.[14] 12 ล้านแรงม้า[14]
เกคิแบท 19.7 เมตร[14] 79.1 เมตร (รวมส่วนปีก)[14] 990 t[14] มัค 3[14] 6.6 ล้านแรงม้า[14]
เกคิชาร์ค 18.7 เมตร[14] 29.7 เมตร[14] 51.2 เมตร[14] 90 นอต[14] 9 ล้านแรงม้า[14]
เกคิกอริลล่า 30.8 เมตร[14] 41.2 เมตร[14] 21.4 เมตร[14] 2,100 ตัน[14] 510 กม. / ชม.[14] 15 ล้านแรงม้า[14]
เกคิเพนกวิน 21.7 เมตร[14] 10.6 เมตร[14] 52.7 เมตร[14] 750 ตัน[14] มัค 3.6[14] 6 ล้านแรงม้า[14]
เกคิกาเซล 27 เมตร[14] 12 เมตร[14] 28 เมตร[14] 600 กม. / ชม.[14]
เกคิวูลฟ์ 33.6 เมตร[14] 12.4 เมตร[14] 41 เมตร[14] 350 ตัน[14] 8 ล้านแรงม้า[14]
ไซไดน์ 52 เมตร[14] 58 เมตร[14] 103 เมตร[14] 3,800 ตัน[14] 35 ล้านแรงม้า[14]
รินไลอ้อน 22.8 เมตร[14] 15.6 เมตร[14] 51.4 เมตร[14] 1,200 ตัน[14] 13 ล้านแรงม้า[14]
รินคาเมเลียน 5.2 เมตร[14] 10 เมตร[14] 16.3 เมตร[14] 200 ตัน[14] 500 กม. / ชม.[14] 2 ล้านแรงม้า[14]
ชื่อ ส่วนสูง ความกว้าง ความหนา น้ำหนัก ความเร็ว แรงกำลัง
เกคิโทจา 52 เมตร[15][16] 32 เมตร[16] 16 เมตร[16] 2,100 ตัน[15][16] 510 กม. / ชม.[16] 15 ล้านแรงม้า[15][16]
เกคิอีเลฟเฟนท์โทจา 53.8 เมตร[15][16] 46.4 เมตร[16] 4,200 ตัน[15][16] 420 กม. / ชม.[16] 27 ล้านแรงม้า[15][16]
เกคิแบ็ทโทจา 58.5 เมตร[15][16] 65 เมตร[16] 21.2 m[16] 3,000 t[15][16] มัค 3 (ในท้องฟ้า[15][16]) 21 ล้านแรงม้า[15][16]
เกคิชาร์คโทจา 65.5 เมตร[15][16] 45.5 เมตร[16] 16 เมตร[16] 3,090 ตัน[15][16] 1201 นอต (ในน้ำ[15][16]) 24 ล้านแรงม้า[15][16]
เกคิรินโทจา 53 เมตร[17][16] 50 เมตร[16] 21.5 เมตร[16] 3,500 ตัน[17][16] 550 กม. / ชม.[16] 30 ล้านแรงม้า[17][16]
เกคิโทจาวูลฟ์ 52 เมตร[18][19] 32 เมตร[19] 2,100 t[18][19] 600 กม. / ชม.[19] 20 ล้านแรงม้า[18][19]
เกคิแบ็ทโทจาวูลฟ์ 53 เมตร[19] 50 เมตร[19] 21.5 เมตร[19] 3,500 ตัน[19] 35 ล้านแรงม้า[19]
เกคิไฟเยอร์ 60 เมตร[18][20] 44 เมตร[20] 17.5 เมตร[20] 3,600 ตัน[18][20] 540 กม. / ชม.[20] 27 ล้านแรงม้า[18][20]
เกคิชาร์คไฟเยอร์ 73.5 เมตร[18][20] 4,590 ตัน[18][20] 36 ล้านแรงม้า[18][20]
เกคิอีเลฟเฟนท์ไฟเยอร์ 60 เมตร[18][20] 5,400 ตัน[18][20] 39 ล้านแรงม้า[18][20]
เกคิแบ็ทไฟเยอร์ 62.2 เมตร[18][20] 4,500 ตัน[18][20] 33 ล้านแรงม้า[18][20]
ไซไดโอ 70 เมตร[17][19] 40 เมตร[19] 3,800 ตัน[17][19] 650 กม. / ชม.[19] 35 ล้านแรงม้า[17][19]

ข้อมูลอื่นๆ แก้

จูเคน (獣拳)
วิชาที่ดัดแปลงจากท่วงท่าการต่อสู้เหล่าสรรพสัตว์ มาประยุกต์กับศิลปะการต่อสู้สายตะวันออก ถือกำเนิดขึ้นในยุคจีนโบราณ มีประวัติศาสตร์ยาวนานถึง 4,000 ปี ถือกำเนิดขึ้นในยุคจีนโบราณ และเป็นรากฐานที่สำคัญของมุมมองต่อโลกของศิลปะการต่อสู้ ผู้คิดค้นวิชานี้คือ บรูซะ อี ซึ่งมีลูกศิษย์อยู่ถึง 10 คน แต่หลังจากการเสียชีวิตของ บรูซะ อี จากฝีมือลูกศิษย์ทั้ง 3 ทำให้วิชาจูเคนถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 สำนัก โดยลูกศิษย์ทั้ง 7 คนจากกลุ่ม 7 หมัดศักดิ์สิทธิ์ ที่สืบทอดเจตจำนงของ บรูซะ อี ได้ก่อตั้งสำนัก เกคิจูเคน บีสต์อาตส์ เพื่อใช้วิชาจูเคนปกป้องสันติภาพของโลก ส่วนอีก 3 คน จากกลุ่ม 3 เคนมะ ผู้ทรยศต่อ บรูซะ อี ผู้เป็นอาจารย์ ก่อตั้งสำนักรินจูเคน อาคุงาตะ ซึ่งเป็นสำนักวิชาจูเคนด้านชั่วร้ายพยายามปกครองโลกด้วยพลังของจูเคน ทั้ง 2 สำนักได้ปะทะกัน จนเกิดสงครามครั้งใหญ่ที่สุดเรียกว่า กลียุคแห่งความบ้าคลั่ง (激臨の大乱) จนในที่สุด 3 เคนมะ แห่งรินจูเคนพ่ายแพ้และถูกผนึกลงไป ด้วยฝีมือของกลุ่ม 7 หมัดศักดิ์สิทธิ์
เกคิจูเคน บีสต์อาตส์ (激獣拳ビーストアーツ)
สำนักสอนวิชาศิลปะป้องกันตัวของเกคิเรนเจอร์ มีมาสเตอร์ซาฟู ทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยการและอาจารย์ฝึกสอน เป็นกลุ่มที่สืบทอดวิชาจูเคนดั้งเดิมจนถึงปัจจุบัน
ห้องฝึกพิเศษในสำนักงานใหญ่ของ Scratch เป็นที่ตั้งถาวรเกคิเรนเจอร์และแสดงเป็นห้องในตึกอาคารสมัยใหม่
สแครทช์ (スクラッチ, Scratch)
มีชื่อเต็มว่า Sports Maker Scratch Company เป็นบริษัทที่จัดจำหน่ายผลิตภัณท์สินค้ากีฬา รวมไปถึงเป็นสถาบันสอนวิชาศิลปะป้องกันตัวแบบครบวงจร
รินจูเคน อาคุกาตะ (臨獣拳アクガタ) / รินจูเคน (臨獣拳)
สำนักจูเคนที่ก่อตั้งโดยกลุ่ม 3 เคนมะ ผู้ทรยศต่อ บรูซะ อี เป็นผู้ใช้วิชาจูเคนที่เต็มไปด้วยความชั่วร้ายและเผชิญหน้ากับเกคิจูเคน

รายชื่อตอน แก้

การออกอากาศ แก้

ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 7.30 น. - 8.00 น. ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮิ

ในประเทศไทย ลิขสิทธิ์ในการจัดจำหน่าย เกคิเรนเจอร์ เป็นของบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ โดยใช้ชื่อเรื่องว่า ขบวนการจอมยุทธสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ และออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในช่วงแรกนั้นออกอากาศในรายการ ช่อง 5 การ์ตูน ทุกเช้าวันเสาร์ เวลา 7.10 - 7.30 น เริ่มฉายเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2552 จนถึงวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553 และได้ออกอากาศในรายการแก๊งการ์ตูนทุกวันเสาร์เวลา 7.10 - 7.30 น. เมื่อเดือน มกราคม พ.ศ. 2553

อ้างอิง แก้

หมายเหตุ แก้

เชิงอรรถ แก้

ข้อมูลที่มา แก้

  1. 1.0 1.1 超全集 2008, p. 10
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 21st 7 2017, pp. 6–7, 「『獣拳戦隊ゲキレンジャー』」
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 3.15 3.16 3.17 3.18 3.19 3.20 3.21 超全集 2008, pp. 38–39, 「ゲキレンジャー ゲキワザ完全リスト」
  4. 超全集 2008, p. 32, 「ゲキブルー」
  5. 5.0 5.1 21st 7 2017, p. 10, 「深見レツ/ゲキブルー」
  6. 超全集 2008, p. 30, 「ゲキイエロー」
  7. 7.0 7.1 21st 7 2017, p. 9, 「宇崎ラン/ゲキイエロー」
  8. 21st 7 2017, p. 8, 「漢堂ジャン/ゲキレッド」
  9. 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 9.10 9.11 9.12 9.13 9.14 9.15 9.16 9.17 9.18 9.19 9.20 9.21 9.22 9.23 9.24 9.25 9.26 9.27 9.28 9.29 9.30 9.31 9.32 9.33 超全集 2008, pp. 40–41, 「ゲキレンジャー ゲキワザ完全リスト」
  10. 超全集 2008, p. 34, 「ゲキバイオレット」
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 21st 7 2017, p. 11, 「深見ゴウ/ゲキバイオレット」
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 超全集 2008, p. 35, 「ゲキチョッパー」
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 21st 7 2017, p. 12, 「久津ケン/ゲキチョッパー」
  14. 14.00 14.01 14.02 14.03 14.04 14.05 14.06 14.07 14.08 14.09 14.10 14.11 14.12 14.13 14.14 14.15 14.16 14.17 14.18 14.19 14.20 14.21 14.22 14.23 14.24 14.25 14.26 14.27 14.28 14.29 14.30 14.31 14.32 14.33 14.34 14.35 14.36 14.37 14.38 14.39 14.40 14.41 14.42 14.43 14.44 14.45 14.46 14.47 14.48 14.49 14.50 14.51 14.52 14.53 14.54 14.55 14.56 14.57 14.58 14.59 14.60 14.61 14.62 14.63 14.64 14.65 14.66 14.67 14.68 21st 7 2017, p. 16, 「ゲキビースト、獣拳神、リンビースト」
  15. 15.00 15.01 15.02 15.03 15.04 15.05 15.06 15.07 15.08 15.09 15.10 15.11 15.12 15.13 超全集 2008, pp. 42–43, 「全ゲキビースト&拳法巨人大図鑑」
  16. 16.00 16.01 16.02 16.03 16.04 16.05 16.06 16.07 16.08 16.09 16.10 16.11 16.12 16.13 16.14 16.15 16.16 16.17 16.18 16.19 16.20 16.21 16.22 16.23 16.24 16.25 16.26 16.27 16.28 21st 7 2017, p. 17, 「巨大拳士」
  17. 17.0 17.1 17.2 17.3 17.4 17.5 超全集 2008, pp. 46–47, 「全ゲキビースト&拳法巨人大図鑑」
  18. 18.00 18.01 18.02 18.03 18.04 18.05 18.06 18.07 18.08 18.09 18.10 18.11 18.12 18.13 18.14 超全集 2008, pp. 44–45, 「全ゲキビースト&拳法巨人大図鑑」
  19. 19.00 19.01 19.02 19.03 19.04 19.05 19.06 19.07 19.08 19.09 19.10 19.11 19.12 19.13 19.14 21st 7 2017, p. 19, 「巨大拳士」
  20. 20.00 20.01 20.02 20.03 20.04 20.05 20.06 20.07 20.08 20.09 20.10 20.11 20.12 20.13 20.14 21st 7 2017, p. 18, 「巨大拳士」

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超全集" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ty_t" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "r&m" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "n_t" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "shiba" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Ni_na" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "a_i" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "NiKiNiKi!78" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PiKaPiKa2" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PiKaPiKa48" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PiK_s" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PiK_p" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PiKaPiKa68" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "gokai" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優23" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優37" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優61" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優71" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優81" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優123" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優153" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "手裏剣読本" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21stvol3" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st5" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st13" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st34a" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st34b" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "youda" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "narita" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "sp_t" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "maku" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "p_y" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "t_t" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "yoko_h5" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "h_6" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "uc_120" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "uc_120_2" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "U169" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "yagi" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "butu" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "yamada" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "hh_6" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "F114" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "DW" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "koba" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Flash" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "toy" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ratedata" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "hara" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "on_t" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "GG" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "MJ" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "press20070426" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "sky" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "topics08" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "DVD1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超全集28" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超全集29" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超全集31" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超全集33" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ด้วยชื่อ "gokai" ที่นิยามในกลุ่ม <references> ไม่มีเนื้อหา
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "学研の図鑑76" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TH4598" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TH45193" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "dvd_9" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

แหล่งข้อมูลอื่น แก้