อักษรศารทา
(เปลี่ยนทางจาก อักษรสรทะ)
อักษรศารทา เป็นระบบการเขียนอักษรสระประกอบในตระกูลอักษรพราหมี อักษรนี้เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตและภาษากัศมีร์อย่างแพร่หลายในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอนุทวีปอินเดีย (ในพื้นที่กัศมีร์และบริเวณรอบ ๆ) ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12[4][1][5] ในอดีตเคยมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ภายหลังใช้กันเฉพาะบริเวณกัศมีร์ และปัจจุบันแทบไม่มีใครใช้นอกจากสังคมบัณฑิตกัศมีร์ที่ใช้กันในทางศาสนา
อักษรศารทา 𑆯𑆳𑆫𑆢𑆳 | |
---|---|
ศัพท์ ศารทา ในอักษรศารทา | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ค.ศ. 700 -ปัจจุบัน (เกือบสูญหาย)[1] |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภูมิภาค | อินเดีย, ปากีสถาน, เอเชียกลาง |
ภาษาพูด | สันสกฤต, กัศมีร์ |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | ฏากรี, ลัณฑา |
ระบบพี่น้อง | สิทธัม, ไภกษุกี, ทิเบต[2][3] |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Shrd (319), Sharada, Śāradā |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Sharada |
ช่วงยูนิโคด | U+11180-U+111DF |
[a] ต้นกำเนิดอักษรพราหมีจากเซมิติกไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป |
อักษรนี้เป็นอักษรพื้นเมืองของกัศมีร์และตั้งชื่อตามเทพีศารทาหรือพระสุรัสวดี เทพีแห่งการเรียนรู้และเทพีหลักในวิหารศารทาปีฐ[6]
ตัวอักษร
แก้สระ
แก้ทับศัพท์ | สัทอักษรสากล | ตำแหน่ง เดี่ยว |
เชื่อม | ||
---|---|---|---|---|---|
รูปอักษร | ตัวอย่าง | รูปพิเศษ | |||
a | [ɐ] | 𑆃 | (ไม่มี) | (𑆥 pa) | |
ā | [aː] | 𑆄 | 𑆳 | 𑆥𑆳 pā | 𑆕 → 𑆕𑆳; 𑆘 → 𑆘𑆳; 𑆛 → 𑆛𑆳; 𑆟 → 𑆟𑆳 |
i | [ɪ] | 𑆅 | 𑆴 | 𑆥𑆴 pi | |
ī | [iː] | 𑆆 | 𑆵 | 𑆥𑆵 pī | |
u | [ʊ] | 𑆇 | 𑆶 | 𑆥𑆶 pu | 𑆑 → 𑆑𑆶; 𑆓 → 𑆓𑆶; 𑆙 → 𑆙𑆶; 𑆚 → 𑆚𑆶; 𑆝 → 𑆝𑆶; 𑆠 → 𑆠𑆶; 𑆨 → 𑆨𑆶; 𑆫 → 𑆫𑆶; 𑆯 → 𑆯𑆶 |
ū | [uː] | 𑆈 | 𑆷 | 𑆥𑆷 pū | 𑆑 → 𑆑𑆷; 𑆓 → 𑆓𑆷; 𑆙 → 𑆙𑆷; 𑆚 → 𑆚𑆷; 𑆝 → 𑆝𑆷; 𑆠 → 𑆠𑆷; 𑆨 → 𑆨𑆷; 𑆫 → 𑆫𑆷; 𑆯 → 𑆯𑆷 |
r̥ | [r̩] | 𑆉 | 𑆸 | 𑆥𑆸 pr̥ | 𑆑 → 𑆑𑆸 |
r̥̄ | [r̩ː] | 𑆊 | 𑆹 | 𑆥𑆹 pr̥̄ | 𑆑 → 𑆑𑆹 |
l̥ | [l̩] | 𑆋 | 𑆺 | 𑆥𑆺 pl̥ | |
l̥̄ | [l̩ː] | 𑆌 | 𑆻 | 𑆥𑆻 pl̥̄ | |
ē | [eː] | 𑆍 | 𑆼 | 𑆥𑆼 pē | |
ai | [aːi̯], [ai], [ɐi], [ɛi] | 𑆎 | 𑆽 | 𑆥𑆽 pai | |
ō | [oː] | 𑆏 | 𑆾 | 𑆥𑆾 pō | |
au | [aːu̯], [au], [ɐu], [ɔu] | 𑆐 | 𑆿 | 𑆥𑆿 pau | |
am̐ | [◌̃] | 𑆃𑆀 | 𑆀 | 𑆥𑆀 pam̐ | |
aṃ | [n], [m] | 𑆃𑆁 | 𑆁 | 𑆥𑆁 paṃ | |
aḥ | [h] | 𑆃𑆂 | 𑆂 | 𑆥𑆂 paḥ |
พยัญชนะ
แก้รูปอักขระเดี่ยว | ทับศัพท์ | สัทอักษรสากล |
---|---|---|
𑆑 | ka | [kɐ] |
𑆒 | kha | [kʰɐ] |
𑆓 | ga | [ɡɐ] |
𑆔 | gha | [ɡʱɐ] |
𑆕 | ṅa | [ŋɐ] |
𑆖 | ca | [tɕɐ] |
𑆗 | cha | [tɕʰɐ] |
𑆘 | ja | [dʑɐ] |
𑆙 | jha | [dʑʱɐ] |
𑆚 | ña | [ɲɐ] |
𑆛 | ṭa | [ʈɐ] |
𑆜 | ṭha | [ʈʰɐ] |
𑆝 | ḍa | [ɖɐ] |
𑆞 | ḍha | [ɖʱɐ] |
𑆟 | ṇa | [ɳɐ] |
𑆠 | ta | [tɐ] |
𑆡 | tha | [tʰɐ] |
𑆢 | da | [dɐ] |
𑆣 | dha | [dʱɐ] |
𑆤 | na | [nɐ] |
𑆥 | pa | [pɐ] |
𑆦 | pha | [pʰɐ] |
𑆧 | ba | [bɐ] |
𑆨 | bha | [bʱɐ] |
𑆩 | ma | [mɐ] |
𑆪 | ya | [jɐ] |
𑆫 | ra | [rɐ] , [ɾɐ], [ɽɐ], [ɾ̪ɐ] |
𑆬 | la | [lɐ] |
𑆭 | ḷa | [ɭɐ] |
𑆮 | va | [ʋɐ] |
𑆯 | śa | [ɕɐ] |
𑆰 | ṣa | [ʂɐ] |
𑆱 | sa | [sɐ] |
𑆲 | ha | [ɦɐ] |
ตัวเลข
แก้ศารทา | อารบิก |
---|---|
𑇐 | 0 |
𑇑 | 1 |
𑇒 | 2 |
𑇓 | 3 |
𑇔 | 4 |
𑇕 | 5 |
𑇖 | 6 |
𑇗 | 7 |
𑇘 | 8 |
𑇙 | 9 |
อักษรศารทาใช้สัญลักษณ์ตำแหน่งระบบตัวเลขฐานสิบของตนเอง
ภาพ
แก้-
สระศารทา
-
พยัญชนะศารทา
-
ภาษาสันสกฤต (บน; อักษรเทวนาครี) และภาษากัศมีร์ (ล่าง; อักษรศารทา)
ยูนิโคด
แก้อักษรศารทาถูกเพิ่มในยูนิโคดเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2012 ในรุ่น 6.1[7]
บล็อกยูนิโคดสำหรับอักษรศารทาอยู่ในช่อง U+11180-U+111DF: แม่แบบ:Unicode chart Sharada
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Singh, Upinder (2008). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century (ภาษาอังกฤษ). Pearson Education India. p. 43. ISBN 9788131711200.
- ↑ Daniels, P.T. (January 2008). "Writing systems of major and minor languages".
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ Masica, Colin (1993). The Indo-Aryan languages. p. 143.
- ↑ Selin, Helaine (2008). Encyclopaedia of the History of Science, Technology, and Medicine in Non-Western Cultures (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. Bakhshali Manuscript entry. Bibcode:2008ehst.book.....S. ISBN 9781402045592.
- ↑ Sir George Grierson. (1916). "On the Sharada Alphabet". Journal of the Royal Asiatic Society, 17.
- ↑ "Pandits to visit Sharda temple". The Hindu. 17 May 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2007. สืบค้นเมื่อ 13 August 2012.
- ↑ Pandey, Anshuman (2009-08-05). "L2/09-074R2: Proposal to encode the Sharada Script in ISO/IEC 10646" (PDF).
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Aksharamukha: Sharada script
- Saerji. (2009). Śāradā script: Akṣara List of the Manuscript of Abhidharmadīpa (ca. the 11th Century). Research Institute of Sanskrit Manuscripts & Buddhist Literature, Peking University.
- Prevalence of the Śāradā Script in Afghanistan เก็บถาวร 2010-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน