อักษรกอท

(เปลี่ยนทางจาก อักษรกอธิก)

อักษรกอท เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษากอท โดยอุลฟิลัส (วัลฟีลา) เป็นผู้คิดค้นอักษรชุดนี้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 โดยมีจุดประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการแปลคัมภีร์ไบเบิล[1]

อักษรกอท
ชนิด
ช่วงยุค
จากประมาณ ค.ศ. 350 เสื่อมถอยใน ค.ศ. 600
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษากอท
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
อักษรกรีก เสริมด้วยอักษรละตินและอาจรวมอักษรรูน (เป็นที่สงสัย)
  • อักษรกอท
ISO 15924
ISO 15924Goth (206), ​Gothic
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Gothic
ช่วงยูนิโคด
U+10330–U+1034F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรกอทใช้รูปอันเชียล (uncial) ของอักษรกรีกแต่ละตัว และได้มีการคิดค้นตัวอักษรเพิ่มบางตัวเพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษากอทได้ครบ:

ต้นกำเนิด

แก้

คาดว่าอุลฟิลัสตัดสินใจหลีกเลี่ยงที่จะใช้อักษรรูนเก่าเพื่อใช้อักษรนี้ เนื่องจากอักษรรูนมีส่วนเชื่อมโยงอย่างมากกับความเชื่อและพิธีกรรมนอกรีต[2] นอกจากนี้ อักษรที่มีฐานจากกรีกน่าจะมีส่วนช่วยในการรวมชาติกอทเข้ากับวัฒนธรรมกรีก-โรมันรอบทะเลดำ[3]

ตัวอักษร

แก้

ตารางข้างล่างคือตารางชุดตัวอักษรกอท[4]

อักษรกอทสามารถใช้ระบุค่าตัวเลขเหมือนกับชุดตัวอักษรกรีก ในกรณีเขียนป็นตัวเลข จะมีวิธีเขียนด้วยการเขียนระหว่างจุดสองจุด (•𐌹𐌱• = 12) หรือขีดเส้นบนตัวอักษร (𐌹𐌱 = 12) อักษรสองตัวนี้ 𐍁 (90) และ 𐍊 (900) ไม่มีรูปอ่าน

ชื่ออักษรมาจากเอกสารตัวเขียนที่บันทึกในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ของ Alcuin (Codex Vindobonensis 795) ชื่อส่วนใหญ่ในรูปกอทก็ปรากฏในกวีอักษรรูน ชื่อเหล่านี้นำรูปที่ได้รับการรับรองแล้วมาสร้างรูปกอทและความหมายคำ[5]

อักษร ทับศัพท์ เทียบอักษร ชื่อกอท ชื่อรูนภาษาเยอรมันดั้งเดิม สัทอักษรสากล ค่าตัวเลข รหัส XML
  𐌰 a Α aza < *ans "เทพ" หรือ asks "เถ้า" *ansuz [a, aː] 1 &#x10330;
  𐌱 b Β bercna < *bairka "เบิร์ช" *berkanan [b] [b, β] 2 &#x10331;
  𐌲 g Γ geuua < giba "ของขวัญ" *gebō [ɡ] [ɡ, ɣ, x]; [n] [ŋ] 3 &#x10332;
  𐌳 d Δ, D daaz < dags "วัน" *dagaz [d] [d, ð] 4 &#x10333;
  𐌴 e Ε eyz < aiƕs "ม้า" หรือ eiws "yew" *eihwaz, *ehwaz [] 5 &#x10334;
  𐌵 q   (Ϛ), ϰ quetra < *qairþra ? หรือ qairna "เครื่องโม่" (ดู *perþō) [] 6 &#x10335;
  𐌶 z Ζ ezec < (?)[6] *algiz [z] 7 &#x10336;
  𐌷 h Η haal < *hagal หรือ *hagls "ทักทาย" *haglaz [h], [x] 8 &#x10337;
  𐌸 þ (th) Φ, Ψ thyth < þiuþ "ดี" หรือ þaurnus "หนาม" *thurisaz [θ] 9 &#x10338;
  𐌹 i Ι iiz < *eis "น้ำแข็ง" *īsaz [i] 10 &#x10339;
  𐌺 k Κ chozma < *kusma หรือ kōnja "pine sap" *kaunan [k] 20 &#x1033A;
  𐌻 l Λ laaz < *lagus "ทะเล, ทะเลสาบ" *laguz [l] 30 &#x1033B;
  𐌼 m Μ manna < manna "มนุษย์" *mannaz [m] 40 &#x1033C;
  𐌽 n Ν noicz < nauþs "ความจำเป็น" *naudiz [n] 50 &#x1033D;
  𐌾 j G, gaar < jēr "ปี" *jēran [j] 60 &#x1033E;
  𐌿 u uraz < *ūrus "aurochs" *ūruz [ʊ], [] 70 &#x1033F;
  𐍀 p Π pertra < *pairþa ? *perþō [p] 80 &#x10340;
  𐍁 Ϙ 90 &#x10341;
  𐍂 r R reda < *raida "เกวียน" *raidō [r] 100 &#x10342;
  𐍃 s S sugil < sauil หรือ sōjil "ดวงอาทิตย์" *sôwilô [s] 200 &#x10343;
  𐍄 t Τ, tyz < *tius "เทพ Týr" *tīwaz [t] 300 &#x10344;
  𐍅 w Υ uuinne < winja "ทุ่งนา, ทุ่งเลี้ยงสัตว์" หรือ winna "ความเจ็บปวด" *wunjō /w/, /y/ 400 &#x10345;
  𐍆 f Ϝ, F fe < faihu "โค, ความมั่งคั่ง" *fehu [ɸ] 500 &#x10346;
  𐍇 x Χ enguz < *iggus หรือ *iggws "เทพ Yngvi" *ingwaz [k][7] 600 &#x10347;
  𐍈 ƕ (hw) Θ uuaer < *hwair "กาต้มน้ำ" [], /ʍ/ 700 &#x10348;
  𐍉 o Ω, Ο, utal < *ōþal "ดินแดนบรรพบุรุษ" *ōþala [] 800 &#x10349;
  𐍊 , Ͳ (Ϡ) 900 &#x1034a;

ยูนิโคด

แก้

อักษรกอทถูกเพิ่มในยูนิโคดในรุ่น 3.1 ซึ่งออกเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 มีช่วงยูนิโคดอยู่ที่ U+10330–U+1034F

กอท[1][2]
ผังอักขระทางการของยูนิโคดคอนซอร์เทียม (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1033x 𐌰 𐌱 𐌲 𐌳 𐌴 𐌵 𐌶 𐌷 𐌸 𐌹 𐌺 𐌻 𐌼 𐌽 𐌾 𐌿
U+1034x 𐍀 𐍁 𐍂 𐍃 𐍄 𐍅 𐍆 𐍇 𐍈 𐍉 𐍊
หมายเหตุ
1.^ อ้างอิงจากยูนิโคดรุ่น 13.0
2.^ ช่องที่เป็นสีเทาหมายถึงช่องที่ไม่ได้มีการกำหนดอักขระใด ๆ ไว้

อ้างอิง

แก้
  1. According to the testimony of the historians Philostorgius, Socrates of Constantinople and Sozomen. Cf. Streitberg (1910:20).
  2. Cf. Jensen (1969:474).
  3. Cf. Haarmann (1991:434).
  4. For a discussion of the Gothic alphabet see also Fausto Cercignani, The Elaboration of the Gothic Alphabet and Orthography, in "Indogermanische Forschungen", 93, 1988, pp. 168-185.
  5. The forms which are not attested in the Gothic corpus are marked with an asterisk. For a detailed discussion of the reconstructed forms, cf. Kirchhoff (1854). For a survey of the relevant literature, cf. Zacher (1855).
  6. Zacher arrives at *iuya, *iwja or *ius, cognate to ON ȳr, OE īw, ēow, OHG īwa "yew tree", though he admits having no ready explanation for the form ezec. Cf. Zacher (1855:10-13).
  7. Streitberg, p. 47

ข้อมูล

แก้
  • Braune, Wilhelm (1952). Gotische Grammatik. Halle: Max Niemeyer.
  • Cercignani, Fausto, "The Elaboration of the Gothic Alphabet and Orthography", in Indogermanische Forschungen, 93, 1988, pp. 168–185.
  • Dietrich, Franz (1862). Über die Aussprache des Gotischen Wärend der Zeit seines Bestehens. Marburg: N. G. Elwert'sche Universitätsbuchhandlung.
  • Friesen, Otto von (1915). "Gotische Schrift" in Hoops, J. Reallexikon der germanischen Altertumskunde, Bd. II. pp. 306–310. Strassburg: Karl J. Trübner.
  • Haarmann, Harald (1991). Universalgeschichte der Schrift. Frankfurt: Campus.
  • Jensen, Hans (1969). Die Schrift in Vergangenheit und Gegenwart. Berlin: Deutscher Verlag der Wissenschaften.
  • Kirchhoff, Adolf (1854). Das gothische Runenalphabet. Berlin: Wilhelm Hertz.
  • Mees, Bernard (2002/2003). "Runo-Gothica: the runes and the origin of Wulfila's script", in Die Sprache, 43, pp. 55-79.
  • Streitberg, Wilhelm (1910). Gotisches Elementarbuch. Heidelberg: Carl Winter.
  • Weingärtner, Wilhelm (1858). Die Aussprache des Gotischen zur Zeit Ulfilas. Leipzig: T. O. Weigel.
  • Wright, Joseph (1910). Grammar of the Gothic Language. Oxford: Oxford University Press.
  • Zacher, Julius (1855). Das gothische Alphabet Vulvilas und das Runenalphabet. Leipzig: F. A. Brockhaus.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้