รายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดี
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
(เปลี่ยนทางจาก รายชื่อพืชที่สะสมสารบางชนิดได้ดี)
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพืชที่สะสมโลหะหนักบางชนิดได้ดี (อังกฤษ: hyperaccumulators) ในตารางแสดงพืชที่สามารถสะสมโลหะดังนี้ Al, Ag, As, Be, Cr, Cu, Mn, Hg, Mo, Pb, Se, Zn ได้ดี
สารมลพิษ | ชื่อสามัญ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | อัตราการสะสม (mg/kg น้ำหนักแห้งของพืช) | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
อะลูมิเนียม - Al | ข้าวบาร์เลย์ | Hordeum vulgare | 1000 | [1],[2] |
อะลูมิเนียม - Al | Bent Grass (ถิ่นกำเนิดอยู่ในโปรตุเกส) |
Agrostis castellana | สะสมได้ดี | [3] |
อะลูมิเนียม - Al | ไฮเดรนเยีย | Hydrangea spp. | ไม่ระบุ | - |
อะลูมิเนียม - Al | - | Melastoma malabathricum L. | สะสมAl ในใบอ่อน, ใบที่โตเต็มที่, ใบแก่, และ8.0, 9.2, 14.4, and 10.1 mg g1, ตามลำดับ[4] มีการแข่งขันกับฟอสเฟตกับอะลูมิเนียมและลดการสะสม [5] | - |
อะลูมิเนียม - Al | - (มาจากแคนาดา) | Solidago hispida | ไม่ระบุ | [1],[2] |
อะลูมิเนียม - Al | ถั่วปากอ้า | Vicia faba | 100 | [1],[2] |
เงิน-Ag | ผักกาดก้านขาว | Brassica napus | ไม่ระบุ | [6],[7] |
เงิน-Ag | - | Salix spp. | ใช้ในบึงประดิษฐ์ที่ทนเค็ม | [7][8][9] |
เงิน-Ag | European Pine Cone Lepidella | Amanita strobiliformis | ไม่ระบุ | [10] |
เงิน-Ag | Indian Mustard | Brassica juncea | 10-1200 เกิดโลหะผสมของเงิน-ทอง-ทองแดงได้ | [11] |
สารหนู -As | Bent Grass | Agrostis capillaris L. | 100 | [2] |
สารหนู -As | Colonial bentgrass | Agrostis tenerrima Trin. | 1000 | [2],[12] |
สารหนู -As | Chinese brake fern | Pteris vittata L. | 27,000 [13]เคลื่อนย้ายสารหนูได้ 26% ภายใน 20 สัปดาห์หลังปลูก [14] เปลี่ยนarsenate ไปเป็น arsenite[15] | |
สารหนู -As | ไม่มีชื่อสามัญ, พืชจากยุโรป | Sarcosphaera coronaria | 100-7000 ทำงานร่วมกับ เอกโตไมคอไรซา | [16] |
โครเมียม-Cr | - | Azolla spp. | ไม่ระบุ | [2],[17] |
โครเมียม-Cr | Smooth Water Hyssop (พืชน้ำในอินเดีย) |
Bacopa monnieri | สะสมได้ดี | [3],[18] |
โครเมียม-Cr | Indian mustard | Brassica juncea L. | ไม่ระบุ | [3],[7],[19] |
โครเมียม-Cr | Rapeseed | Brassica napus | ไม่ระบุ | [6],[7] |
โครเมียม-Cr | Tape Grass (พืชพื้นเมืองในยุโรปและแอฟริกาเหนือ) |
Vallisneria americana | สะสมได้ดี | [3] |
โครเมียม-Cr | ไม่มี | Dicoma niccolifera | 1000 | [2] |
โครเมียม-Cr | ผักตบชวา | Eichhornia crassipes | รากดูดซับสารมลพิษได้ดี [20], สูงกว่าความเข้มข้นในสิ่งแวดล้อม 10,000 เท่า[21] | [3] |
โครเมียม-Cr | ทานตะวัน | Helianthus annuus | ไม่ระบุ | [3],[7] |
โครเมียม-Cr | Hydrilla | Hydrilla verticallata | สะสมได้ดี | [3] |
โครเมียม-Cr | ถั่วอัลฟัลฟา | Medicago sativa | ไม่ระบุ | [2],[22] |
โครเมียม-Cr | Water lettuce | Pistia stratiotes | ไม่ระบุ | [3],[2],[23] |
โครเมียม-Cr | ไม่มี | Salix spp. Osier spp. | ไม่ระบุ | [7] |
โครเมียม-Cr | Kariba weed หรือ เฟินน้ำ | Salvinia molesta | ไม่ระบุ | [3],[2],[24] |
โครเมียม-Cr | แหนเป็ดใหญ่ | Spirodela polyrhiza | ไม่ระบุ | [3],[2],[24] |
โครเมียม-Cr | ไม่มี | Sutera fodina | 100 | [2],[25],[26] |
โครเมียม-Cr | ไม่มี | Thlaspi caerulescens | สะสมได้ดี อาจทำให้ไรโซสเฟียร์เป็นกรด ทำให้โลหะละลายได้ดีขึ้น[27] | [3],[2],[7],[28],[29],[30] |
ทองแดง-Cu | ไม่มี | Aeolanthus biformifolius | 9000 | [31] |
ทองแดง-Cu | Japanese false spleenwort (ถิ่นกำเนิดในญี่ปุ่น) |
Athyrium yokoscense | ไม่ระบุ | [3] |
ทองแดง-Cu | Pacific mosquitofern (พืชลอยน้ำในแอฟริกา) |
Azolla filiculoides | สะสมได้ดี | [3] |
ทองแดง-Cu | Smooth Water Hyssop (พืชน้ำในอินเดีย) |
Bacopa monnieri | สะสมได้ดีมาก | [3],[18] |
ทองแดง-Cu | Indian mustard | Brassica juncea L. | ไม่ระบุ | [3],[7],[19] |
ทองแดง-Cu | Tape Grass (พืชพื้นเมืองในยุโรปและแอฟริกา) |
Callisneria Americana | ไม่ระบุ | [3] |
ทองแดง-Cu | ผักตบชวา | Eichhornia crassipes | ไม่ระบุ | [3] |
ทองแดง-Cu | ไม่มี พืชพื้นเมืองในแอฟริกา | Haumaniustrum robertii | 1000 ถ้ามีโคบอลต์อยู่ด้วยจะสะสมโคบอลต์ได้ดีกว่าทองแดง[32] | [2],[29] |
ทองแดง-Cu | ทานตะวัน | Helianthus annuus | ไม่ระบุ | [3],[29] |
ทองแดง-Cu | Creosote Bush (ถิ่นกำเนิดในสหรัฐฯ) |
Larrea tridentata | 1000 | [2],[29] |
ทองแดง-Cu | แหนเป็ด | Lemna minor | สะสมได้ดี | [3] |
ทองแดง-Cu | Water Lettuce | Pistia stratiotes | ทนทาน | [3] |
ทองแดง-Cu | Alpine pennycress | Thlaspi caerulescens | ไม่ระบุแต่ทองแดง จำกัดการเจริญเติบโตของพืชชนิดนี้[30] | [3],[2],[7],[27],[28],[29],[30] |
แมงกานีส-Mn | Bent Grass | Agrostis castellana | สะสมได้ดี | [3] |
แมงกานีส-Mn | Pacific mosquitofern (พืชลอยน้ำพบในแอฟริกา) |
Azolla filiculoides | ไม่ระบุ | [3] |
แมงกานีส-Mn | Indian mustard | Brassica juncea L. | ไม่ระบุ | [7],[19] |
แมงกานีส-Mn | ทานตะวัน | Helianthus annuus | ไม่ระบุ | [7] |
แมงกานีส-Mn | ไม่มี | Macademia neurophylla | 1000 | [2],[33] |
ปรอท-Hg | Smooth Water Hyssop (พืชน้ำในอินเดีย) |
Bacopa monnieri | สะสมได้ดี | [3],[18] |
ปรอท-Hg | Rapeseed | Brassica napus | ไม่ระบุ | [6],[7] |
ปรอท-Hg | ผักตบชวา | Eichhornia crassipes | ไม่ระบุ | [3] |
ปรอท-Hg | Hydrilla | Hydrilla verticallata | สะสมได้ดีมาก | [3] |
ปรอท-Hg | Water lettuce | Pistia stratiotes | 1000 | [3],[2],[29],[34] |
ปรอท-Hg | ไม่มี | Salix spp. | สะสมได้ในบึงประดิษฐ์ที่ทนเค็ม | [7] |
โมลิบดินัม-Mo | Alpine pennycress | Thlaspi caerulescens | 1500 | [3],[2],[7],[27],[28],[29],[30] |
ตะกั่ว-Pb | Bent Grass | Agrostis castellana | สะสมได้ดี | [3] |
ตะกั่ว-Pb | Ragweed | Ambrosia artemisiifolia | ไม่ระบุ | [6] |
ตะกั่ว-Pb | Indian mustard | Brassica juncea | สะสมได้ดีมาก | [3],[2],[6],[7],[19],[27],[29],[30],[35] |
ตะกั่ว-Pb | Seapink Thrift | Armeria maritima | ไม่ระบุ | [6] |
ตะกั่ว-Pb | Japanese false spleenwort | Athyrium yokoscense | ไม่ระบุ | [3] |
ตะกั่ว-Pb | Pacific mosquitofern (พืชลอยน้ำในแอฟริกา) |
Azolla filiculoides | สะสมได้ดี | [3] |
ตะกั่ว-Pb | Smooth Water Hyssop (พืชลอยน้ำในอินเดีย) |
Bacopa monnieri | สะสมได้ดี | [3],[18] |
ตะกั่ว-Pb | ผักกาดก้านขาว | Brassica napus | ไม่ระบุ | [6],[7] |
ตะกั่ว-Pb | บร็อกโคลี | Brassica oleracea | ไม่ระบุ | [6] |
ตะกั่ว-Pb | Tape Grass (พืชพื้นเมืองในยุโรปและแอฟริกาเหนือ) |
Callisneria Americana | สะสมได้ดี | [3] |
ตะกั่ว-Pb | ผักตบชวา | Eichhornia crassipes | ไม่ระบุ | [3] |
ตะกั่ว-Pb | Blue Sheep Fescue | Festuca ovina | ไม่ระบุ | [6] |
ตะกั่ว-Pb | ทานตะวัน | Helianthus annuus | ไม่ระบุ | [3],[6],[7],[9],[35] |
ตะกั่ว-Pb | Hydrilla | Hydrilla verticallata | สะสมได้ดีมาก | [3] |
ตะกั่ว-Pb | แหนเป็ด | Lemna minor | สะสมได้ดีมาก | [3] |
ตะกั่ว-Pb | Common Osier | Salix viminalis | ไม่ระบุ | [9] |
ตะกั่ว-Pb | Kariba weed (หรือเฟิร์นน้ำในอินเดีย) |
Salvinia molesta | สะสมได้ดีมาก | [3] |
ตะกั่ว-Pb | แหนเป็ดใหญ่ | Spirodela polyrhiza | ไม่ระบุ | [3],[2],[24] |
ตะกั่ว-Pb | Alpine pennycress (พืชตระกูลผักกาด) |
Thlaspi caerulescens | ไม่ระบุ | [3],[2],[7],[27],[28],[29],[30] |
ตะกั่ว-Pb | Pennycress | Thlaspi rotundifolium | ไม่ระบุ | [6] |
ตะกั่ว-Pb | ข้าวสาลี | Triticum aestivum | ไม่ระบุ | [6] |
ซีลีเนียม-Se | Indian mustard | Brassica juncea | ไม่ระบุ แบคทีเรียในไรโซสเฟียร์ช่วยกระตุ้นการสะสม | [36][7] |
ซีลีเนียม-Se | ผักกาดก้านขาว | Brassica napus | ไม่ระบุ | [6],[7] |
ซีลีเนียม-Se | Muskgrass | Chara canescens Desv. & Lois | สะสมได้ 91% ของ Se ในรูปสารอินทรีย์แต่สะสมได้เพียง47% ถ้า Se อยู่ในรูปซีลีเนต[37] | |
ซีลีเนียม-Se | ไม่มี | Kochia scoparia | ไม่ระบุ | [3],[7] |
ซีลีเนียม-Se | ไม่มี | Salix spp. | ไม่ระบุ | [7] |
สังกะสี-Zn | ผักตบชวา | Eichhornia crassipes | ไม่ระบุ | [3] |
สังกะสี-Zn | Bent Grass (ถิ่นกำเนิดในโปรตุเกส) |
Agrostis castellana | ไม่ระบุ | [3] |
สังกะสี-Zn | Japanese false spleenwort? (ถิ่นกำเนิดอยู่ในญี่ปุ่น) |
Athyrium yokoscense | ไม่ระบุ | [3] |
สังกะสี-Zn | ไม่ระบุ | วงศ์ Brassicaceae | พืชที่สะสมได้ดี | [7] |
สังกะสี-Zn | Indian mustard | Brassica juncea L. | ไม่ระบุ | [3],[7],[19] |
สังกะสี-Zn | ผักกาดก้านขาว | Brassica napus | ไม่ระบุ | [6],[7] |
สังกะสี-Zn | ทานตะวัน | Helianthus annuus | สะสมในต้นและกรองด้วยราก | [7],[9] |
สังกะสี-Zn | Common Osier | Salix viminalis | ไม่ระบุ | [8][9][7][9] |
สังกะสี-Zn | K1400ariba weed (ถิ่นกำเนิดในอินเดีย) |
Salvinia molesta | ไม่ระบุ | [3] |
สังกะสี-Zn | Bladder campion | Silene vulgaris (Moench) Garcke (Caryophyllaceae) | 1,400 mg/kg | Ernst et al. (1990) |
สังกะสี-Zn | แหนเป็ดใหญ่ | Spirodela polyrhiza | ไม่ระบุ | [3],[2],[24] |
สังกะสี-Zn | Alpine pennycress | Thlaspi caerulescens (Brassica) | 10,000 mg/kg การเพิ่มความเป็นกรดในไรโซสเฟียร์จะเพิ่มการสะสมโลหะ | [27][3],[2],[7],[28],[29],[30],[35] |
สังกะสี-Zn | ถั่วโคลเวอร์แดง | Trifolium pratense | ไม่ใช่พืชสะสมโลหะ ไรโซสเฟียร์มีแบคทีเรียหนาแน่นกว่าไรโซสเฟียร์ของ Thlaspi caerulescens แต่มีแบคทีเรียที่ทนโลหะน้อยกว่า | [27] |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 Grauer & Horst 1990
- ↑ 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 2.16 2.17 2.18 2.19 2.20 2.21 2.22 2.23 McCutcheon & Schnoor 2003, Phytoremediation. New Jersey, John Wiley & Sons pg 891.
- ↑ 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 3.15 3.16 3.17 3.18 3.19 3.20 3.21 3.22 3.23 3.24 3.25 3.26 3.27 3.28 3.29 3.30 3.31 3.32 3.33 3.34 3.35 3.36 3.37 3.38 3.39 3.40 3.41 3.42 3.43 3.44 3.45 3.46 3.47 3.48 McCutcheon & Schnoor 2003, Phytoremediation. New Jersey, John Wiley & Sons pg 898. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "MS898" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ Distribution and chemical speciation of aluminum in the Al accumulator plant, Melastoma malabathricum L.[ลิงก์เสีย] By Toshihiro Watanabe, Mitsuru Osaki, Teruhiko Yoshihara and Toshiaki Tadano. In journal” Plant and Soil”. Ed. Springer Netherlands, Volume 201, Number 2 / April, 1998. pp. 165-173. ISSN 0032-079X (Print) 1573-5036 (Online). DOI 10.1023/A:1004341415878.
- ↑ Warm Climate Production Guidelines for Japanese Hydrangeas. เก็บถาวร 2009-02-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน By Rick Shoellhorn and Alexis A. Richardson. Environmental Horticulture Department, Florida Cooperative Extension Service, Institute of Food and Agricultural Sciences, University of Florida. Original publication date February 5, 2005.
- ↑ 6.00 6.01 6.02 6.03 6.04 6.05 6.06 6.07 6.08 6.09 6.10 6.11 6.12 6.13 A Resource Guide: The Phytoremediation of Lead to Urban, Residential Soils เก็บถาวร 2006-06-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Site adapted from a report from Northwestern University written by Joseph L. Fiegl, Bryan P. McDonnell, Jill A. Kostel, Mary E. Finster, and Dr. Kimberly Gray อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Fiegl" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ 7.00 7.01 7.02 7.03 7.04 7.05 7.06 7.07 7.08 7.09 7.10 7.11 7.12 7.13 7.14 7.15 7.16 7.17 7.18 7.19 7.20 7.21 7.22 7.23 7.24 7.25 7.26 7.27 Phytoremediation. By McCutcheon & Schnoor. 2003, New Jersey, John Wiley & Sons pg 19.
- ↑ 8.0 8.1 The potential for phytoremediation of iron cyanide complex by Willows. By X.Z. Yu, P.H. Zhou and Y.M. Yang. In Ecotoxicology 2006.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 9.5 Enhancing Phytoextraction: The Effect of Chemical Soil Manipulation on Mobility, Plant Accumulation, and Leaching of Heavy Metals. เก็บถาวร 2007-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน By Ulrich Schmidt. In J. Environ. Qual. 32:1939-1954 (2003)
- ↑ Borovička J., Řanda Z., Jelínek E., Kotrba P., Dunn C.E. (2007) : Hyperaccumulation of silver by Amanita strobiliformis and related species of the section Lepidella. Mycological Research 111: 1339-1344.
- ↑ R.G. Haverkamp and A.T. Marshall and D. van Agterveld "Pick your Carats: Nanoparticles of Gold-Silver-Copper Alloy Produced In Vivo" J. Nanoparticle Res., 9, p697-700, (2007)
- ↑ Porter and Peterson 1975
- ↑ Mechanisms of Arsenic Hyperaccumulation in Pteris vittata. Uptake Kinetics, Interactions with Phosphate, and Arsenic Speciation. By Junru Wang, Fang-Jie Zhao, Andrew A. Meharg, Andrea Raab, Joerg Feldmann and Steve P. McGrath. In Plant Physiol, November 2002, Vol. 130, pp. 1552-1561.
- ↑ Arsenic Accumulation in the Hyperaccumulator Chinese Brake and Its Utilization Potential for Phytoremediation. เก็บถาวร 2007-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน By C. Tu, L.Q. Ma and B. Bondada. In 'Plant Physiology' journal, 138:461-469 (April 2005).
- ↑ Characterization of Arsenate Reductase in the Extract of Roots and Fronds of Chinese Brake Fern, an Arsenic Hyperaccumulator. By Gui-Lan Duan, Y.-G. Zhu, Y.-P. Tong, C. Cai and R. Kneer. In Plant Physiology, 138:461-469 (2005). ยีสต์ (Saccharomyces c.) มี arsenate reductase, Acr2p, ซึ่งใช้กลูตาไธโอนเป็นตัวให้อิเล็กตรอน Pteris vittata มี arsenate reductase ที่มีกลไกเดียวกัน
- ↑ Stijve et al., 1990, in Persoonia 14 (2) : 161-166, Borovička 2004 in Mykologický Sborník 81: 97-99.
- ↑ Priel 1995.
- ↑ 18.0 18.1 18.2 18.3 Gurta et al. 1994
- ↑ 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 Analysis of Transgenic Indian Mustard Plants for Phytoremediation of Metal-Contaminated Mine Tailings. เก็บถาวร 2007-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน By L.E. Bennetta, J.L. Burkheada, K.L. Halea, N. Terry, M. Pilona and E.A. H. Pilon-Smits.
- ↑ Handbook of Energy Crops. By J. Duke. Available only online. An excellent source of information on numerous plants.
- ↑ BioScience 26 (3) : 224. 1976.
- ↑ Tiemmann et al. 1994
- ↑ Sen et al. 1987
- ↑ 24.0 24.1 24.2 24.3 Srivastav 1994
- ↑ Wild 1974
- ↑ Brooks & Yang 1984
- ↑ 27.0 27.1 27.2 27.3 27.4 27.5 27.6 [1] เก็บถาวร 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน T.A. Delorme, J.V. Gagliardi, J.S. Angle and R.L. Chaney. Influence of the zinc hyperaccumulator Thlaspi caerulescens J. & C. Presl. and the nonmetal accumulator Trifolium pratense L. on soil microbial populations. Conseil National de Recherches du Canada. Can. J. Microbiol./Rev. can. microbiol. 47 (8) : 773-776 (2001) อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Delorme01" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ 28.0 28.1 28.2 28.3 28.4 [2] Majeti Narasimha Vara Prasad, Nickelophilous plants and their significance in phytotechnologies. Braz. J. Plant Physiol. Vol.17 no.1 Londrina Jan./Mar. 2005
- ↑ 29.00 29.01 29.02 29.03 29.04 29.05 29.06 29.07 29.08 29.09 Baker & Brooks, 1989
- ↑ 30.0 30.1 30.2 30.3 30.4 30.5 30.6 [3] เก็บถาวร 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน E. Lombi, F.J. Zhao, S.J. Dunham et S.P. McGrath, Phytoremediation of Heavy Metal, Contaminated Soils, Natural Hyperaccumulation versus Chemically Enhanced Phytoextraction. Journal of Environmental Quality 30:1919-1926 (2001)
- ↑ [4][ลิงก์เสีย] R.S. Morrison, R.R. Brooks, R.D. Reeves and F. Malaisse. Copper and cobalt uptake by metallophytes from Zaïre. Plant and Soil, Volume 53, Number 4 / December, 1979
- ↑ [5][ลิงก์เสีย] R. R. Brooks, Copper and cobalt uptake by Haumaniustrum species.
- ↑ Baker & Walker 1990
- ↑ Atri 1983
- ↑ 35.0 35.1 35.2 Phytoremediation Decision Tree, ITRC
- ↑ [6] Mark P. de Souza, Dara Chu, May Zhao, Adel M. Zayed, Steven E. Ruzin, Denise Schichnes, and Norman Terry, Rhizosphere Bacteria Enhance Selenium Accumulation and Volatilization by Indian mustard, Plant Physiol. (1999) 119: 565-574
- ↑ X-ray absorption spectroscopy speciation analysis.