รายการสัญลักษณ์ที่ใช้กับตรรกศาสตร์
สำหรับคณิตศาสตร์ สาขาตรรกศาสตร์แล้ว จะใช้สัญลักษณ์แทนสิ่งต่างๆ ซึ่งเป็นตัวเชื่อม/เงื่อนไขของประพจน์หรือประโยคเปิดนั้นๆ โดยแถวแรก จะเป็นสัญลักษณ์ แถวที่สอง จะเป็นเรื่องชื่อสัญลักษณ์/คำอ่านหมวดหมู่ และแถวที่สาม จะเป็นคำอธิบาย ส่วนแถวสุดท้าย จะเป็นการแสดงตัวอย่าง
สัญลักษณ์พื้นฐาน
แก้สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
|
เงื่อนไขเชิงตรรกศาสตร์ | จะเป็นเท็จได้ ก็ต่อเมื่อ เป็นจริง และ เป็นเท็จเท่านั้น
อาจมีความหมายเหมือนกับ (สัญลักษณ์นี้อาจะแสดงถึงโดเมนและโคโดเมนของฟังก์ชันใดๆ ดูเพิ่มที่รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์) หรือเขียน แทน ก็ได้ (อาจหมายถึงซูเปอร์เซต) |
เป็นจริง แต่ เป็นเท็จ เพราะ เป็น ได้ |
ถ้า...แล้ว... | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตเฮย์ทิง | |||
|
ก็ต่อเมื่อ | จะเป็นจริงได้ ก็ต่อเมื่อ และ มีค่าความจริงเหมือนกัน | |
...ก็ต่อเมื่อ... | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์ | |||
|
นิเสธ | จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ เป็นเท็จ |
|
นิเสธ, น็อท | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์ | |||
|
การเชื่อมเชิงตรรกศาสตร์ | จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ และ เป็นจริงเท่านั้น | |
...และ... | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
|
การเลือกเชิงตรรกศาสตร์ | จะเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ และ เป็นเท็จเท่านั้น | |
หรือ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
|
เฉพาะ หรือ | จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ หรือ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นจริงเท่านั้น
ใช้ ก็ได้ |
เป็นจริงเสมอ แต่ เป็นเท็จเสมอ |
เฉพาะ/หรือ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
|
สัจนิรันดร์ | แล้ว จะเป็นจริงเสมอ | เป็นจริงเสมอ |
สัจนิรันดร์ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
|
ความขัดแย้ง | แล้ว จะเป็นเท็จเสมอ | เป็นจริงเสมอ |
ขัดแย้ง | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
|
ตัวบ่งปริมาณ (ทั้งหมด) | หรือ หมายความว่า เป็นจริง สำหรับ ทุกตัว | |
สำหรับ...แต่ละตัว, สำหรับ...ใดๆ, ฟอร์ออล... | |||
First-Order Logic | |||
ตัวบ่งปริมาณ (บางตัว) | หมายความว่า เป็นจริงสำหรับ บางตัว | เป็นจำนวนคู่ | |
มี...อยู่บางตัว, ฟอร์ซัม... | |||
First-Order Logic | |||
ตัวบ่งปริมาณ (หนึ่งตัว) | หมายความว่า เป็นจริงสำหรับ หนึ่งตัว | ||
มี...หนึ่งตัว | |||
First-Order Logic | |||
|
บทนิยาม | หมายความว่า P เป็นนิยามของ/สมมูลกับ Q | |
บทนิยามของ, สมมูลกับ | |||
ลำดับการดำเนินการ | |||
นขลิขิต, วงเล็บ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
พิสูจน์ได้ | หมายความว่า y พิสูจน์ได้จาก x | ||
พิสูจน์ได้จาก | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, First-Order Logic | |||
หมายความว่า | หมายความว่า x มีความหมายเดียวกับ y | ||
หมายความว่า | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, First-Order Logic |
สัญลักษณ์ขั้นสูงและไม่ค่อยมีการใช้งาน
แก้สัญลักษณ์พวกนี้จัดเรียงตามลำดับค่ายูนิโคด
- u+00B7 : · จุดกึ่งกลาง ใช้แทน "และ"
- U+22C5 : จุดกึ่งกลางมีขีดข้างบน ใช้แทน "นิเสธของและ (NAND)"
- U+0305 : ขีดด้านบน ใช้แสดงถึงทฤษฎีตัวเลขไทโปกราฟิเชียล (Typographical Number Theory) เช่น 4̅ ใช้แทน SSSS0
- ใช้แสดงถึงจำนวนเกอเดิล เช่น คือจำนวนเกอเดิลของ A V B
- ใช้แสดงถึงการนิเสธ เช่น คือ
- U+2191 : ↑ ลูกศรชี้ขึ้น หรือ U+007C : | เส้นตรง : เส้นตรงเชฟเฟอร์ สัญลักษณ์ของนิเสธของและ (NAND)
- U+2193 : ↓ ลูกศรคว่ำหัว ลูกศรเพียร์ซ แสดงถึงการดำเนินการปฏิเสธแบบร่วม
- U+2201 : ∁ ส่วนเติมเต็ม
- U+2204 : ∄ ไม่มีเลย มีความหมายตรงกันกับ ¬∃
- U+22A8 : ⊨ เป็นจริงต่อ
- U+22AC : ⊬ พิสูจน์ไม่ได้ด้วย ตัวอย่างเช่น T ⊬ P หมายความว่า P ไม่ใช่นิยามของ T
- U+22AD : ⊭ เป็นนิเสธกับ
- U+22BC : ⊼ ตัวดำเนินการนิเสธของและ (NAND) (ในภาษา HTML)
- U+22BD : ⊽ การปฏิเสธแบบร่วม (ในภาษา HTML)
- U+25C7 : ◇ ข้าวหลามตัดโปร่ง "เป็นไปได้ว่า" "ไม่จำเป็นต้องไม่" หรือที่พบน้อยมากๆ "ไม่ได้พิสูจน์ได้ว่าไม่" (ตรรกศาสตร์โมเดลนิยามตัวนี้โดยใช้ ¬◻¬"
- U+22C6 : ⋆ ตัวดำเนินการเฉพาะ (Ad-Hoc Operators)
- U+22A5 : ⊥ ที่มีความหมายเดียวกับ ↓
- U+2310 : ⌐ ตัวผกผันของนิเสธ
- U+231C : ⌜ มุมซ้ายบน และ ⌝ มุมขวาบน หรือเรียกสองตัวนี้รวมกันว่า ไควน์โควท (Quine Quote) (อาจใช้แทนตัวแปรที่ไม่กำหนดค่าได้[1]
- อาจใช้ในการแสดงถึงจำนวนเกอเดิล[2]
- (อนึ่ง ฟอนต์บางตัว มุมซ้ายและขวาบนจะไม่เท่ากัน หรือฟอนต์บางตัว (Arial เป็นต้น) จะเป็น ⌈ และ ⌉ ไปเลย หรือในโหมดซูเปอร์สคริปต์ จะใช้ตัวนิเสธและตัวผกผันการนิเสธ (⌐ ¬) ไปเลย)
- U+25FB : ◻ กล่องสี่เหลี่ยมขาว ใช้แทนว่า "จำเป็นต้อง" ในตรรกศาสตร์เชิงโมเดล (Model Logic)
- ใช้แทนคำว่า พิสูจน์ได้ว่า ในตรรกศาสตร์เชิงการพิสูจน์ (Provaility Logic)
- ใช้แทนคำว่า จะเห็นได้ว่า ในตรรกศาสตร์การสังเกต (Deontic Logic)
- ใช้แทนคำว่า เชื่อได้ว่า ในตรรกศาสตร์มโนทัศน์ (Doxastic Logic)
- ใช้แทนประโยคว่าง (หรือ และ ⊥)
สัญลักษณ์ต่อไปนี้ จะเป็นสัญลักษณ์ที่อาจจะไม่แสดงผลในคอมพิวเตอร์บางท่าน ซึ่งการที่จะแสดงผลได้ จำเป็นต้องมีฟอนต์ที่จำเป็นสำหรับหน้าเว็บเพจต่างๆ
- U+27E2 : ⟢ ข้าวหลามตัดเบี่ยงซ้าย ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "ไม่เคย"
- U+27E3 : ⟣ ข้าวหลามตัดเบี่ยงขวา ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "จะไม่เป็น"
- U+27E4 : ⟤ กล่องโปร่งขีดซ้าย ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "เสมอมา"
- U+27E5 : ⟥ กล่องโปร่งขีดขวา ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "เสมอไป"
- U+297D : ⥽ หางปลาเบี่ยงซ้าย ใช้แทนความสัมพันธ์แบบตัวดำเนินการเฉพาะ (Ad-hoc) (ตัวอย่างเช่น การแสดงว่า "เป็นประจักษ์" ในงานของ รอสเซอร์ส ทริก) โดย ซี.ไอ. เลวิส ได้นำมาทำการนิยามให้เจาะจงขึ้น คือ โดยในรหัส LaTeX เป็น \strictif ดูที่นี่ สำหรับรูปของหางปลาเบี่ยงซ้าย สัญลักษณ์นี้ถูกเพิ่มมาในยูนิโคด 3.2.0
- U+2A07 : ⨇ การดำเนินการและแบบซ้อน
การใช้ในประเทศต่างๆ
แก้ในปี 2014 โปแลนด์ ได้ใช้ แทน และ แทน [3]
ในญี่ปุ่น บางทีมีการใช้ตัว แทนคำว่า "สรุปได้ว่า" หรือ "ผลก็คือ" เช่น "เราได้ทำการตรวจสอบแล้วว่าจะทำการขายสินค้าอะไรดี ⇒ เราจะไม่ขายอะไรทั้งนั้น" ส่วน แทนคำว่า "เปลี่ยนเป็น" เช่น "อัตราความสนใจเปลี่ยนไป คือ มีนาคม 20% → เมษายน 21%"
ดูเพิ่ม
แก้อ่านเพิ่ม
แก้- Józef Maria Bocheński (1959), A Précis of Mathematical Logic, trans., Otto Bird, from the French and German editions, Dordrecht, South Holland: D. Reidel