รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ (อาหรับ: الخلافة العباسية: al-Khilāfah al-‘Abbāsīyyah) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ราชวงศ์ที่สามของศาสนาอิสลาม ที่มีเมืองหลวงที่แบกแดดหลังจากที่โค่นราชวงศ์อุมัยยะฮ์ออกจากบริเวณต่าง ๆ ยกเว้นอัล-อันดะลุส (Al-Andalus)ซึ่งคือบริเวณประเทศสเปนในปัจจุบัน

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

اَلْخِلَافَةُ ٱلْعَبَّاسِيَّةُ
ค.ศ. 750–1258
ค.ศ. 1261–1517
ธงชาติอับบาซียะฮ์
รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ในช่วงสูงสุด ป. ค.ศ. 850
รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ในช่วงสูงสุด ป. ค.ศ. 850
สถานะจักรวรรดิ
(ค.ศ.750–1258)
ราชวงศ์ในไคโรภายใต้รัฐสุลต่านมัมลูก
(1261–1517)
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไปภาษาอาหรับคลาสสิก (ฝ่ายปกครองส่วนกลาง); หลายภาษา
ศาสนา
อิสลามซุนนี
การปกครองรัฐเคาะลีฟะฮ์
เคาะลีฟะฮ์ 
• ค.ศ.750–754
อัสซัฟฟาฮ์ (องค์แรก)
• ค.ศ.1242–1258
อัลมุสตะอ์ศิม (เคาะลีฟะฮ์องค์สุดท้ายในแบกแดด)
• 1508–1517
อัลมุตะวักกิลที่ 3 (เคาะลีฟะฮ์องค์สุดท้ายในไคโร)
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
ค.ศ.750
• สิ้นสุด
ค.ศ.1517
สกุลเงิน
ก่อนหน้า
ถัดไป
รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
จักรวรรดิออตโตมัน
จักรวรรดิเซลจุค
รัฐสุลต่านฆูริด
รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาฏิมียะฮ์
รัฐสุลต่านมัมลูก (ไคโร)
ราชวงศ์ซัฟฟาริด
ราชวงศ์ซิยาดิด
ราชวงศ์ตูลูนิด
จักรวรรดิมองโกล
ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่
Faravahar background
กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย
ก่อนยุคใหม่
หลัง อิสลาม
อาณาจักรกาหลิป 637–651
จักรวรรดิอุมัยยะฮ์ 661–750
จักรวรรดิอับบาซียะฮ์ 750–1258
จักรวรรดิทาฮิริยะห์ 821–873
ราชวงศ์อาลาวิยะห์ 864–928
จักรวรรดิซัฟฟาริยะห์ 861–1003
จักรวรรดิซามานิยะห์ 819–999
จักรวรรดิไซยาริยะห์ 928–1043
จักรวรรดิไบอิยะห์ 934–1055
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์ 975–1187
จักรวรรดิกอร์ 1149–1212
จักรวรรดิเซลจุค 1037–1194
จักรวรรดิควาเรซเมีย 1077–1231
ราชวงศ์คาร์ติยะห์ 1231-1389
จักรวรรดิข่านอิล 1256–1353
ราชวงศ์มุซาฟฟาริยะห์ 1314–1393
ราชวงศ์จุพานิยะห์ 1337–1357
ราชวงศ์จาไลยิริยะห์ 1339–1432
ราชวงศ์เตมือร์ 1370–1506
คารา โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1407–1468
อัค โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1378–1508
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์ 1501–1722*
จักรวรรดิโมกุล 1526–1857
ราชวงศ์โฮทาคิ 1722–1738
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์ 1736–1750
* หรือ 1736
ยุคใหม่

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก่อตั้งโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากอับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ (العباس بن عبد المطلب‎ – Abbas ibn Abd al-Muttalib) ลุงคนเล็กของมุฮัมมัด โดยก่อตั้งขึ้นในฮาร์รานในปี ค.ศ. 750 และย้ายเมืองหลวงจากฮาร์รานไปแบกแดดในปี ค.ศ. 762 รัฐเคาะลีฟะฮ์นี้รุ่งเรืองอยู่ราวสองร้อยปีแต่ก็มาเสื่อมโทรมลงเมื่ออำนาจของตุรกีแข็งแกร่งขึ้น ภายใน 150 ปีทีแผ่ขยายอำนาจไปทั่วเปอร์เชีย รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก็สูญเสียอำนาจให้แก่จักรวรรดิมองโกล ในปี ค.ศ. 1258

อ้างอิงแก้ไข

  1. The Abbasid Revolution against the Umayyad Caliphate adopted black for its rāyaʾ for which their partisans were called the musawwids. Tabari (1995), Jane McAuliffe (บ.ก.), Abbāsid Authority Affirmed, vol. 28, SUNY, p. 124 Their rivals chose other colours in reaction; among these, forces loyal to Marwan II adopted red. Patricia Crone (2012). The Nativist Prophets of Early Islam. p. 122.. The choice of black as the colour of the Abbasid Revolution was already motivated by the "black standards out of Khorasan" tradition associated with the Mahdi. The contrast of white vs. black as the Umayyad vs. Abbasid dynastic colour over time developed in white as the colour of Shia Islam and black as the colour of Sunni Islam: "The proselytes of the ʿAbbasid revolution took full advantage of the eschatological expectations raised by black banners in their campaign to undermine the Umayyad dynasty from within. Even after the ʿAbbasids had triumphed over the Umayyads in 750, they continued to deploy black as their dynastic colour; not only the banners but the headdresses and garments of the ʿAbbasid caliphs were black [...] The ubiquitous black created a striking contrast with the banners and dynastic color of the Umayyads, which had been white [...] The Ismaili Shiʿite counter-caliphate founded by the Fatimids took white as its dynastic color, creating a visual contrast to the ʿAbbasid enemy [...] white became the Shiʿite color, in deliberate opposition to the black of the ʿAbbasid 'establishment'." Jane Hathaway, A Tale of Two Factions: Myth, Memory, and Identity in Ottoman Egypt and Yemen, 2012, p. 97f. After the revolution, Islamic apocalyptic circles admitted that the Abbasid banners would be black but asserted that the Mahdi's standard would be black and larger. David Cook (2002). Studies in Muslim Apocalyptic, p. 153. Anti-Abbasid circles cursed "the black banners from the East", "first and last". Patricia Crone (2012). The Nativist Prophets of Early Islam. p. 243.