สเปซลอนช์ซิสเตม

จรวดขนส่งหนักพิเศษแบบใช้ครั้งเดียวของนาซา
(เปลี่ยนทางจาก ระบบการส่งอวกาศ)

สเปซลอนช์ซิสเตม (อังกฤษ: Space Launch System; SLS) เป็นจรวดขนส่งหนักพิเศษแบบใช้ครั้งเดียวสัญชาติสหรัฐ ซึ่งนาซาพัฒนามาตั้งแต่ ค.ศ. 2011 ได้รับการส่งขึ้นครั้งแรกในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022 จากศูนย์อวกาศเคนเนดีในภารกิจอาร์ทิมิส 1[13] สเปซลอนช์ซิสเตม ออกแบบมาเพื่อทดแทนจรวดแอรีส I และแอรีส V ซึ่งถูกยกเลิกไปพร้อมกับโครงการส่งมนุษย์กลับสู่ดวงจันทร์คอนสเตลเลชัน[21][22][23] สเปซลอนช์ซิสเตม มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบทอดกระสวยอวกาศ และเป็นพาหนะส่งหลักสำหรับแผนการสำรวจอวกาศห้วงลึกของนาซาในคริสต์ทศวรรษ 2020[24][25][26] ภารกิจส่งมนุษย์สู่ดวงจันทร์ได้รับการวางแผนไว้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการอาร์ทิมิส เพื่อนำร่องความเป็นไปได้ของภารกิจส่งมนุษย์สู่ดาวอังคาร[27][28] สเปซลอนช์ซิสเตมได้รับการพัฒนาในสามช่วงหลัก ได้แก่ บล็อก 1, บล็อก 1บี, และบล็อก 2 ซึ่งความสามารถของจรวดจะเพิ่มขึ้นตามลำดับ[7] ตามข้อมูลเมื่อ สิงหาคม 2019 สเปซลอนช์ซิสเตม บล็อก 1 จะใช้ในการส่งภารกิจอาร์ทิมิสสามครั้งแรก[29] จรวด บล็อก 1บี จะใช้การส่งห้าครั้งต่อมา หลังจากนั้นการส่งทั้งหมดจะใช้จรวดบล็อก 2[30][28][31]

สเปซลอนช์ซิสเตม
จรวดข้างหอและฐานส่ง
สเปซลอนช์ซิสเตมบล็อก 1 พร้อมกับยานอวกาศโอไรออนบนฐานส่ง 39 ก่อนการส่ง
หน้าที่จรวดขนส่งหนักพิเศษ
ผู้ผลิตแอโรเจ็ทร็อคเก็ตไดน์
นอร์ทธรอป กรัมแมน
โบอิง
ยูไนเต็ดลันช์อัลลิอันซ์
ประเทศสหรัฐ
ต้นทุนโครงการ2.3011 หมื่นล้านดอลลาร์ (ปรับตามอัตราเงินเฟ้อถึง ค.ศ. 2021) [note 1]
ค่าใช้จ่ายต่อเที่ยวบินมากกว่า 2 พันล้านดอลลาร์ ไม่รวมค่าพัฒนา (ค่าประมาณ) [note 2][2][3]: 23–24 [4][1]
ค่าใช้จ่ายต่อปี2.555 พันล้านดอลลาร์ในปีงบประมาณสหรัฐที่ 2021[5]
ขนาด
สูงบล็อก 1 Crew: 98 m (322 ft)
บล็อก 2 Cargo: 111 m (365 ft)
เส้นผ่านศูนย์กลาง8.4 m (27.6 ft), ส่วนแกน
ท่อน2
ความจุ
น้ำหนักบรรทุกสู่ LEO [note 3]
มวล
  • บล็อก 1: 95 t (209,000 lb)[7]
  • บล็อก 1บี: 105 t (231,000 lb)[8][9]
  • บล็อก 2: 130 t (290,000 lb)[10]
น้ำหนักบรรทุกสู่ TLI
มวล
  • บล็อก 1: > 27 t (59,500 lb)[11][12]
  • บล็อก 1บี Crew: 38 t (83,700 lb)
  • บล็อก 1บี Cargo: 42 t (92,500 lb)
  • บล็อก 2 Crew: > 43 t (94,700 lb)
  • บล็อก 2 Cargo: > 46 t (101,400 lb)
จรวดที่เกี่ยวข้อง
การเปรียบเทียบ
ประวัติการบิน
สถานะประจำการ
จุดส่งตัวศูนย์อวกาศเคนเนดี, ฐานส่ง 39บี
จำนวนเที่ยวบิน1
สำเร็จ1
เที่ยวบินแรก16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022, 1:47:44 น. EST (13:47:44 น. GMT+7) [13]
น้ำหนักบรรทุกที่โดดเด่นโอไรออน
ข้อมูลส่วน
บูสเตอร์ (บล็อก 1, 1B)
จำนวนบูสเตอร์จรวดเชื้อเพลิงแข็งห้าส่วน 2 ลำ
ความยาว54 m (177 ft)[14]
เส้นผ่านศูนย์กลาง3.7 m (12 ft)
มวลรวม730 t (1,600,000 lb)[14]
เครื่องยนต์เชื้อเพลิงแข็ง
แรงส่งระดับน้ำทะเล: 14.6 MN; 1,490 tf (3,280,000 lbf)
สูญญากาศ: 16 MN; 1,600 tf (3,600,000 lbf)[15]
แรงส่งรวมระดับน้ำทะเล: 29.2 MN; 2,980 tf (6,560,000 lbf)
สูญญากาศ: 32 MN; 3,300 tf (7,200,000 lbf)
แรงดลจำเพาะ269 s (2.64 km/s)
ระยะเวลาการเผาไหม้126 วินาที
เชื้อเพลิงPBAN, APCP
ท่อนแรก (บล็อก 1, 1บี, 2) – ส่วนแกน
ความยาว65 m (212 ft)[16]
เส้นผ่านศูนย์กลาง8.4 m (27.6 ft)
มวลเปล่า85 t (187,990 lb)
มวลรวม1,073 t (2,365,000 lb)
เครื่องยนต์4 RS-25D/E
แรงส่งระดับน้ำทะเล: 7.44 MN; 758 tf (1,672,000 lbf)[17]
สูญญากาศ: 9.115 MN; 929.5 tf (2,049,200 lbf)[17]
แรงดลจำเพาะระดับน้ำทะเล: 366 s (3.59 km/s)[17]
สูญญากาศ: 452 s (4.43 km/s)[17]
ระยะเวลาการเผาไหม้480 วินาที
เชื้อเพลิงLH2 / LOX
ท่อนที่สอง (บล็อก 1) – ส่วนขับดันเย็นยิ่งยวดชั่วคราว
ความยาว13.7 m (45 ft)[18]
เส้นผ่านศูนย์กลาง5 m (16 ft)
มวลเปล่า3,490 kg (7,690 lb)[19]
มวลรวม32,066 kg (70,693 lb)
เครื่องยนต์1 RL10B-2/C-2
แรงส่ง110.1 kN (24,800 lbf)
แรงดลจำเพาะ465.5 s (4.565 km/s)[20]
ระยะเวลาการเผาไหม้1125 วินาที
เชื้อเพลิงLH2 / LOX
ท่อนที่สอง (บล็อก 1บี, บล็อก 2) – ส่วนสำรวจบน
ความยาว17.3 m (57 ft)[19]
เส้นผ่านศูนย์กลาง8.4 m (28 ft)
เครื่องยนต์4 RL10C-3, ต่อมา 4 RL10C-X
แรงส่ง407.2 kN (91,500 lbf)
ระยะเวลาการเผาไหม้
  • 350 วินาที (สู่ LEO)
  • 925 วินาที (สู่ TLI)
เชื้อเพลิงLH2 / LOX

สเปซลอนช์ซิสเตมได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อส่งยานอวกาศโอไรออนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจอาร์ทิมิสจากฐานส่ง 39บี ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีใน ฟลอริดา โครงการอาร์ทิมิสคาดว่าจะใช้สเปซลอนช์ซิสเตม ไม่มากกว่าหนึ่งครั้งต่อปีจนถึงอย่างน้อยปี ค.ศ. 2030.[32]

รัฐสภาสหรัฐกำหนดการส่งครั้งแรกไว้ภายในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2016[33] แต่ว่าถูกเลื่อนไปอย่างน้อยสิบหกครั้ง ทำให้ล่าช้าไปมากกว่าห้าปีจากกำหนดการเดิม[note 4]

ภายหลังจากภารกิจอาร์ทิมิสสี่ครั้งแรก นาซามีแผนจะถ่ายโอนการผลิตและการส่งสเปซลอนช์ซิสเตมแก่บริษัทดีปสเปซทรานสปอร์ตจำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างโบอิงกับนอร์ทธรอป กรัมแมน[34]

รูปพรรณ แก้

สเปซลอนช์ซิสเตมสืบการออกแบบมาจากกระสวยอวกาศ ส่วนแรกของจรวดถูกขับดันด้วยส่วนแกนกลางและจรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็งสองลำ สเปซลอนช์ซิสเตมทุกบล็อกมีลักษณะการออกแบบส่วนแกนกลางเหมือนกัน แต่ต่างกันที่การออกแบบส่วนบนและจรวดขับดัน[35][36][37][38]

ส่วนแกน แก้

 
ส่วนแกนของสเปซลอนช์ซิสเตมถูกดันออกจากโรงงานประกอบมิชูดเพื่อขนส่งไปยังศูนย์อวกาศสเทนนิส

ส่วนแกน พร้อมด้วยจรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็ง มีหน้าที่ในการขับดันส่วนบนและน้ำหนักบรรทุกของจรวดออกไปนอกชั้นบรรยากาศและเร่งจรวดให้เกือบถึงอัตราเร็วโคจร ส่วนแกนประกอบไปด้วยถังเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว สำหรับช่วงการขึ้นสู่อวกาศ จุดยึดสำหรับจรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็ง ระบบควบคุมการบิน และระบบขับดันหลัก (อังกฤษ: Main Propulsion System; MPS) ระบบขับดันหลักมีหน้าที่ในการจ่ายเชื้อเพลิงและออกซิเจนแก่เครื่องยนต์ RS-25 4 เครื่อง ควบคุมทิศทางเครื่องยนต์ด้วยกระบอกสูบไฮดรอลิก[35] และรักษาความดันในถังเชื้อเพลิงด้วยเชื้อเพลิงในรูปก๊าซ ส่วนแกนสร้างแรงขับดันประมาณ 25% ของแรงขับดันทั้งหมดขณะส่งตัว[39][40] โดยส่วนนี้มีความยาว 65 m (213 ft) และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 8.4 m (28 ft) ส่วนแกนมีลักษณะทั้งทางรูปลักษณ์และโครงสร้างที่เหมือนกับถังเชื้อเพลิงนอกของกระสวยอวกาศ[22][41] ในการบินสี่ครั้งแรกจะใช้และทิ้งเครื่องยนต์ RS-25D ทั้งหมดที่เคยใช้ในภารกิจกระสวยอวกาศที่เหลืออยู่จำนวนสิบหกเครื่อง[42][43][44] บริษัท แอโรเจ็ทร็อคเก็ตไดน์ปรับแต่งเครื่องยนต์ด้วยตัวควบคุมเครื่องยนต์รุ่นใหม่ ปรับแรงขับดันสูงสุดสูงขึ้น และเพิ่มฉนวนกันความร้อนต่อเครื่องยนต์จากจรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็ง[45] ในการบินครั้งต่อๆ ไปจะเปลี่ยนไปใช้เครื่องยนต์ RS-25E ซึ่งเป็นรุ่นที่ออกแบบมาสำหรับการใช้แล้วทิ้งโดยเฉพาะ และจะลดราคาต่อเครื่องยนต์ไปมากกว่า 30%.[46][47] แรงขับดันของเครื่องยนต์ RS-25D แต่ละเครื่องถูกปรับเพิ่มขึ้นจาก 2,188 kN (492,000 lbf) ในการใช้ในกระสวยอวกาศ เป็น 2,281 kN (513,000 lbf) ในเครื่องยนต์ที่ปรับปรุงใหม่ เครื่องยนต์ RS-25E จะมีแรงขับดันต่อเครื่องยนต์เพิ่มขึ้นเป็น 2,321 kN (522,000 lbf).[48][49]

จรวดขับดัน แก้

สเปซลอนช์ซิสเตม บล็อก 1 และ 1B มีแผนที่จะใช้จรวดเชื้อเพลิงแข็งห้าส่วน 2 ลำ จรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็งเหล่านี้ใช้ส่วนเปลือกของจรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็งสี่ส่วนที่เคยใช้ในภารกิจกระสวยอวกาศ จรวดขับดันของสเปซลอนช์ซิสเตม มีส่วนกลางเพิ่มมาหนึ่งส่วน ระบบควบคุมการบินใหม่ และฉนวนที่เบาลง แต่ขาดระบบกร่มชูชีพสำหรับกู้คืน[50] เชื้อเพลิงในจรวดเชื้อเพลิงแข็งเป็นผงอะลูมิเนียมซึ่งก่อปฏิกิริยารุนแรง และแอมโมเนียมเปอร์คลอเรตซึ่งเป็นตัวออกซิไดซ์ประสิทธิภาพสูง ยึดเหนี่ยวไว้ด้วยโพลีบูตาไดอีน อะครีลอนไนไตรท์ (PBAN) ส่วนผสมนี้มีลักษณะเหมือนกับยางลบและถูกบรรจุอยู่ในแต่ละส่วนของจรวดเชื้อเพลิงแข็ง[51] จรวดเชื้อเพลิงแข็งห้าส่วนนี้มีแรงดลมากกว่าจรวดเขื้อเพลิงแข็งของกระสวยอวกาศประมาณ 25% แต่จะไม่ถูกนำกลับมาใช้ใหม่[52][53]

จำนวนของจรวดขับดันสำหรับสเปซลอนช์ซิสเตม บล็อก 1 ถึง 1B นั้นถูกจำกัดโดยจำนวนของเปลือกที่เหลือจากโครงการกระสวยอวกาศ ซึ่งมีเพียงพอสำหรับการบินแปดครั้ง[54] ในวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2019 มีการประกาศโครงการการพ้นและต่ออายุจรวดขับดัน (อังกฤษ: Booster Obsolescence and Life Extension program; BOLE) โดยโครงการนี้จะพัฒนาจรวดขับดันเชื้อเพลิงรุ่นใหม่สำหรับการผลิตโดยนอร์ทธรอป กรัมแมน สเปซซิสเต็มส์สำหรับการบินครั้งต่อๆ ไป จรวดขับดันจากบล็อก 2เป็นต้นไปจะสืบการพัฒนามาจากจรวดขับดันเชื้อเพลิงแข็งเปลือกเชิงประกอบที่เคยได้รับการพัฒนาสำหรับจรวดโอเมกา และคาดการณ์ว่าจะเพิ่มความสามารถในการส่งน้ำหนักบรรทุกของบล็อก 2 สู่วงโคจรต่ำของโลกไปอยู่ที่ 130 t (290,000 lb) และอย่างน้อยที่ 46 t (101,000 lb) สำหรับวิถีโคจรสู่ดวงจันทร์[55][56][57] ตามข้อมูลเมื่อ กรกฎาคม 2021 โครงการ BOLE อยู่ภายใต้การพัฒนา โดยการจุดเครื่องยนต์ครั้งแรกคาดการณ์ไว้สำหรับปี ค.ศ. 2024[55]

ส่วนบน แก้

ส่วนขับดันเย็นยิ่งยวดชั่วคราว (อังกฤษ: Interim Cryogenic Propulsion Stage; ICPS) จะใช้เป็นส่วนบนของสเปซลอนช์ซิสเตม บล็อก 1 ในภารกิจอาร์ทิมิส 1, 2, และ 3[58] ICPS เป็นส่วนที่สองเย็นยวดยิ่งเดลตาของจรวดเดลตา IVที่ถูกยืดให้ยาวและผ่านมาตรฐานการใช้กับมนุษย์ ซึ่งขับดันโดยเครื่องยนต์ RL10 หนึ่งเครื่อง ICPS ส่วนแรกจะใช้เครื่องยนต์รุ่น RL10B-2 ในขณะที่ IPCS ส่วนที่สองและสามและใช้เครื่องยนต์รุ่น RL10C-2[59][60][61] จรวดบล็อก 1 ได้รับการออกแบบมาให้สามารถส่งน้ำหนักบรรทุก 95 t (209,000 lb) ไปยังวงโคจรต่ำของโลก โดยรวมน้ำหนักของ ICPS เป็นส่วนหนึ่งของน้ำหนักบรรทุก[7] ณ เวลาที่ส่วนแกนของสเปซลอนช์ซิสเตม แยกออกไป อาร์ทิมิส 1 จะเคลื่อนที่ในวิถีกึ่งโคจรขนาด 1806 x 30 กม. วิถีการเดินทางนี้จะรับรองการกำจัดส่วนแกนอย่างปลอดภัย[62] จากนั้น ICPS จะทำการแทรกเข้าสู่วงโคจรและทำการจุดเครื่องยนต์เพื่อส่งยานโอไรออนสู่วิถีสู่ดวงจันทร์[63] ICPS จะได้รับมาตรฐานการใช้กับมนุษย์ในภารกิจอาร์ทิมิส 2 และ 3 ซึ่งมีลูกเรือ[58]

ส่วนสำรวจบน (อังกฤษ: Exploration Upper Stage; EUS) ได้รับการวางแผนไว้สำกรับใช้ในภารกิจอาร์ทิมิส 4 ส่วนสำรวจบนจะเร่งสเปซลอนช์ซิสเตม ให้ถึงวงโคจรสมบูรณ์ และจะจุดเครื่องยนต์อีกครั้งเพื่อส่งน้ำหนักบรรทุกไปยังจุดหมายที่ไกลกว่าวงโคจรต่ำของโลก[64] โดยคาดการณ์ว่าส่วนสำรวจบนจะใช้ในจรวดบล็อก 1B และบล็อก 2 ส่วนสำรวจบนมีเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับส่วนแกนที่ 8.4 m (28 ft) และจะขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ RL10C-3 จำนวน 4 เครื่อง[65] และจะได้รับการปรับปรุงให้ใช้เครื่องยนต์รุ่น RL10C-X ในท้ายที่สุด[66] ตามข้อมูลเมื่อ มีนาคม 2022 โบอิงกำลังพํฒนาถังเขื้อเพลิงที่ทำจากวัสดุผสมใหม่สำหระบ EUS ซึ่งจะเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งน้ำหนักบรรทุกไปยังวิถีโคจรสู่ดวงจันทร์ของบล็อก 1B 30%[67] ส่วนบนที่ได้รับการปรับปรุงในตอนแรกได้รับการตั้งชื่อว่า ส่วนบนที่ใช้ได้สองทาง (อังกฤษ: Dual Use Upper Stage; DUUS)[64] แต่ในต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นส่วนสำรวจบน[68]

แบบย่อยบล็อก แก้

ความแตกต่างของสเปซลอนช์ซิสเตม
เที่ยวบิน # บล็อก เครื่องยนต์ส่วนแกน จรวดขับดัน ส่วนบน แรงขับดันขณะส่งตัว มวลน้ำหนักบรรทุกสู่...
วงโคจรต่ำของโลก (LEO) วิถีโคจรสู่ดวงจันทร์ (TLI) วงโคจรดวงอาทิตย์ (HCO)
1 1 RS-25D[42] จรวดขับดันแข็ง 5-ส่วน สืบมาจากกระสวยอวกาศ ส่วนขับดันเย็นยิ่งยวดชั่วคราว (ICPS) พร้อมกับเครื่องยนต์ RL10B-2[61] 39 MN (8,800,000 lbf)[11] 95 เมตริกตัน (209,000 lb)[7] >27 เมตริกตัน (59,500 lb)[69][11][12] ไม่ทราบ
2, 3 ส่วนขับดันเย็นยิ่งยวดชั่วคราว (ICPS) พร้อมกับเครื่องยนต์ RL10C-2[59]
4 1B ส่วนสำรวจบน (EUS) 105 เมตริกตัน (231,000 lb)[8] 42 เมตริกตัน (92,500 lb)[69][11][12]
5,6,7,8 RS-25E[47]
9, ... 2 การพ้นและต่ออายุจรวดขับดัน (BOLE)[54] 41 MN (9,200,000 lbf)[11] 130 เมตริกตัน (290,000 lb)[10] >46 เมตริกตัน (101,400 lb)[69][11][12] 45 เมตริกตัน (99,000 lb)[7]

เชิงอรรถ แก้

  1. ดูที่ ตารางงบประมาณ สำหรับมูลค่าปรับตามเงินเฟ้อรายปี
  2. ค่านี้เป็นของจรวดบล็อก 1 เท่านั้นและไม่รวมค่าของยานอวกาศโอไรออนและหน่วยบริการ[1]
  3. ความสูง 200 ก.ม. ความเอียง 28.5° วงกลม[6]
  4. ประวัติกำหนดการส่งจรวด
    วันที่ แผนกำหนดการส่ง
    ตุลาคม ค.ศ. 2010 31 ธันวาคม ค.ศ. 2016[33][21][70][71]
    กันยายน ค.ศ. 2011 ค.ศ. 2017[72][73][71]
    กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012–สิงหาคม ค.ศ. 2014 17 ธันวาคม ค.ศ. 2017[71][74]
    ธันวาคม ค.ศ. 2014 มิถุนายน–กรกฎาคม ค.ศ. 2018[75]
    13 เมษายน ค.ศ. 2017 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018[76]
    28 เมษายน ค.ศ. 2017 ค.ศ. 2019[77][71]
    พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 มิถุนายน ค.ศ. 2020[78]
    ธันวาคม ค.ศ. 2019 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020[79][80]
    21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 18 เมษายน ค.ศ. 2021[80]
    28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 กลางถึงปลาย ค.ศ. 2021[81]
    พฤษภาคม ค.ศ. 2020 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021[82][83]
    สิงหาคม ค.ศ. 2021 ธันวาคม ค.ศ. 2021[84][85]
    22 ตุลาคม ค.ศ. 2021 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022[86][87]
    17 ธันวาคม ค.ศ. 2021 มีนาคม–เมษายน ค.ศ. 2022[88]
    กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 พฤษภาคม ค.ศ. 2022[89]
    มีนาคม ค.ศ. 2022 มิถุนายน ค.ศ. 2022[90]
    26 เมษายน ค.ศ. 2022 23 สิงหาคม ค.ศ. 2022[91][92]
    20 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 08:33 น. ET (19:33 น. GMT+7), 29 สิงหาคม ค.ศ. 2022[93]
    29 สิงหาคม ค.ศ. 2022 12:48 น. ET (23:48 น. GMT+7), 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2022[94][95][96]
    30 สิงหาคม 2022 14:17 น. ET, 3 กันยายน ค.ศ. 2022 (01:17 น. GMT+7, 4 กันยายน ค.ศ. 2022)[97][98]
    3 กันยายน ค.ศ. 2022 19 กันยายน–4 ตุลาคม ค.ศ. 2022[99]
    8 กันยายน 2022 23 กันยายน–4 ตุลาคม ค.ศ. 2022[100]
    12 กันยายน ค.ศ. 2022 27 กันยายน–4 ตุลาคม ค.ศ. 2022[101]
    24 กันยายน ค.ศ. 2022 ปลายเดือนตุลาคม ค.ศ. 2022[102][103][104]
    30 กันยายน ค.ศ. 2022 12–27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022[105]
    13 ตุลาคม ค.ศ. 2022 00:07 น. ET (12:07 น. GMT+7), 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022[106]
    8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022 01:04 น. ET (13:04 น. GMT+7), 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022[13]

บรรณานุกรม แก้

  1. 1.0 1.1 Berger, Eric (2019-11-08). "NASA does not deny the "over 2 billion" cost of a single SLS launch". Ars Technica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2019. สืบค้นเมื่อ 13 November 2019. The White House number appears to include both the "marginal" cost of building a single SLS rocket as well as the "fixed" costs of maintaining a standing army of thousands of employees and hundreds of suppliers across the country. Building a second SLS rocket each year would make the per-unit cost "significantly less"
  2. Vought, Russell T. "Letter to the Chair and Vice Chair of the Senate Appropriations Committee with respect to 10 of the FY 2020 annual appropriations bills" (PDF). whitehouse.gov. p. 7. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 November 2019. สืบค้นเมื่อ 13 November 2019. estimated cost of over 2 billion per launch for the SLS once development is complete   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  3. "NASA'S MANAGEMENT OF THE ARTEMIS MISSIONS" (PDF). Office of Inspector General (United States). NASA. 15 November 2021. p. numbered page 23, PDF page 29. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2021. สืบค้นเมื่อ 15 November 2021. SLS/Orion Production and Operating Costs Will Average Over $4 Billion Per Launch [...] We project the cost to fly a single SLS/Orion system through at least Artemis IV to be $4.1 billion per launch at a cadence of approximately one mission per year. Building and launching one Orion capsule costs approximately $1 billion, with an additional $300 million for the Service Module supplied by the ESA [...] In addition, we estimate the single-use SLS will cost $2.2 billion to produce, including two rocket stages, two solid rocket boosters, four RS-25 engines, and two stage adapters. Ground systems located at Kennedy where the launches will take place—the Vehicle Assembly Building, Crawler-Transporter, Mobile Launcher 1, Launch Pad, and Launch Control Center—are estimated to cost $568 million per year due to the large support structure that must be maintained. The $4.1 billion total cost represents production of the rocket and the operations needed to launch the SLS/Orion system including materials, labor, facilities, and overhead, but does not include any money spent either on prior development of the system or for next-generation technologies such as the SLS’s Exploration Upper Stage, Orion’s docking system, or Mobile Launcher 2. [...] The cost per launch was calculated as follows: $1 billion for the Orion based on information provided by ESD officials and NASA OIG analysis; $300 million for the ESA’s Service Module based on the value of a barter agreement between ESA and the United States in which ESA provides the service modules in exchange for offsetting its ISS responsibilities; $2.2 billion for the SLS based on program budget submissions and analysis of contracts; and $568 million for EGS costs related to the SLS/Orion launch as provided by ESD officials.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  4. "White House warns Congress about Artemis funding". SpaceNews. 2019-11-07. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2021. สืบค้นเมื่อ 2019-11-13.
  5. "Updated FY 2021 Spending Plan" (PDF). NASA. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2021. สืบค้นเมื่อ 3 October 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  6. "2018 draft factsheet of SLS capabilities" (PDF). NASA. August 20, 2018. สืบค้นเมื่อ August 24, 2022.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 Harbaugh, Jennifer (9 July 2018). "The Great Escape: SLS Provides Power for Missions to the Moon". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 December 2019. สืบค้นเมื่อ 4 September 2018.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  8. 8.0 8.1 "Space Launch System" (PDF). NASA Facts. NASA. 11 October 2017. FS-2017-09-92-MSFC. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2018. สืบค้นเมื่อ 4 September 2018.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  9. "NASA's Space Launch System: Exploration, Science, Security" (PDF). The Boeing Company. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 August 2021. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.
  10. 10.0 10.1 Creech, Stephen (April 2014). "NASA's Space Launch System: A Capability for Deep Space Exploration" (PDF). NASA. p. 2. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2016. สืบค้นเมื่อ 4 September 2018.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 Mohon, Lee (2015-03-16). "Space Launch System (SLS) Overview". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-07-06.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 "SLS Lift Capabilities and Configurations" (PDF). NASA. 29 April 2020. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2020. สืบค้นเมื่อ 20 January 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  13. 13.0 13.1 13.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nasa-blog-20221108
  14. 14.0 14.1 "Space Launch System Solid Rocket Booster". NASA. February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-03. สืบค้นเมื่อ 2022-08-16.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  15. Redden, Jeremy J. (27 July 2015). "SLS Booster Development". NASA Technical Reports Server. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2021. สืบค้นเมื่อ 1 October 2020.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  16. "SLS Core Stage Fact Sheet" (PDF). NASA. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 February 2021. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  17. 17.0 17.1 17.2 17.3 "RS-25 Engine". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  18. "What is ICPS?". United Launch Alliance. 23 June 2021. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  19. 19.0 19.1 "Space Launch System". 9 September 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.
  20. "RL10 Engine". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 July 2021. สืบค้นเมื่อ 5 July 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  21. 21.0 21.1 "S.3729 – National Aeronautics and Space Administration Authorization Act of 2010". United States Congress. 11 October 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2021. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  22. 22.0 22.1 Stephen Clark (31 March 2011). "NASA to set exploration architecture this summer". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 May 2011. สืบค้นเมื่อ 26 May 2011.
  23. Day, Dwayne (25 November 2013). "Burning thunder". The Space Review. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2014. สืบค้นเมื่อ 17 August 2014.
  24. Siceloff, Steven (12 April 2015). "SLS Carries Deep Space Potential". nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2018. สืบค้นเมื่อ 2 January 2018.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  25. "World's Most Powerful Deep Space Rocket Set To Launch In 2018". iflscience.com. 29 August 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2019. สืบค้นเมื่อ 19 September 2021.
  26. Chiles, James R. (October 2014). "Bigger Than Saturn, Bound for Deep Space". airspacemag.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 December 2019. สืบค้นเมื่อ 2 January 2018.
  27. "Finally, some details about how NASA actually plans to get to Mars". arstechnica.com. 28 March 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 July 2019. สืบค้นเมื่อ 2 January 2018.
  28. 28.0 28.1 Gebhardt, Chris (6 April 2017). "NASA finally sets goals, missions for SLS – eyes multi-step plan to Mars". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2017. สืบค้นเมื่อ 21 August 2017.
  29. Gebhardt, Chris (15 August 2019). "Eastern Range updates "Drive to 48" launches per year status". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 November 2019. สืบค้นเมื่อ 6 January 2020. NASA, on the other hand, will have to add this capability to their SLS rocket, and Mr. Rosati said NASA is tracking that debut for the Artemis 3 mission in 2023.
  30. "Space Launch System". aerospaceguide.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2019. สืบค้นเมื่อ 9 April 2014.
  31. Harbaugh, Jennifer (12 May 2017). "NASA Continues Testing, Manufacturing World's Most Powerful Rocket". nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2017. สืบค้นเมื่อ 12 August 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  32. Weitering, Hanneke (12 February 2020). "NASA has a plan for yearly Artemis moon flights through 2030. The first one could fly in 2021". Space.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 February 2020. สืบค้นเมื่อ 20 February 2020.
  33. 33.0 33.1 "Public Law 111–267 111th Congress, 42 USC 18322. SEC. 302 (c) (2) 42 USC 18323. SEC. 303 (a) (2)" (PDF). 11 October 2010. pp. 11–12. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 November 2020. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020. 42 USC 18322. SEC. 302 SPACE LAUNCH SYSTEM AS FOLLOW-ON LAUNCH VEHICLE TO THE SPACE SHUTTLE [...] (c) MINIMUM CAPABILITY REQUIREMENTS (1) IN GENERAL — The Space Launch System developed pursuant to subsection (b) shall be designed to have, at a minimum, the following: (A) The initial capability of the core elements, without an upper stage, of lifting payloads weighing between 70 tons and 100 tons into low-Earth orbit in preparation for transit for missions beyond low Earth orbit [...] (2) FLEXIBILITY [...] (Deadline) Developmental work and testing of the core elements and the upper stage should proceed in parallel subject to appro-priations. Priority should be placed on the core elements with the goal for operational capability for the core elements not later than December 31, 2016 [...] 42 USC 18323. SEC. 303 MULTI-PURPOSE CREW VEHICLE (a) INITIATION OF DEVELOPMENT (1) IN GENERAL — The Administrator shall continue the development of a multi-purpose crew vehicle to be available as soon as practicable, and no later than for use with the Space Launch System [...] (2) GOAL FOR OPERATIONAL CAPABILITY. It shall be the goal to achieve full operational capability for the transportation vehicle developed pursuant to this subsection by not later than December 31, 2016. For purposes of meeting such goal, the Administrator may undertake a test of the transportation vehicle at the ISS before that date.
  34. Potter, Sean Sean (27 July 2022). "NASA Prepares for Space Launch System Rocket Services Contract". NASA. สืบค้นเมื่อ 10 August 2022.
  35. 35.0 35.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NSFTrades
  36. Chris Bergin (25 April 2011). "SLS planning focuses on dual phase approach opening with SD HLV". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 June 2019. สืบค้นเมื่อ 26 January 2012.
  37. Bergin, Chris (16 June 2011). "Managers SLS announcement after SD HLV victory". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 January 2012. สืบค้นเมื่อ 26 January 2012.
  38. Bergin, Chris (23 February 2012). "Acronyms to Ascent – SLS managers create development milestone roadmap". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2012. สืบค้นเมื่อ 9 April 2012.
  39. Harbaugh, Jennifer (2019-12-09). "NASA, Public Marks Assembly of SLS Stage with Artemis Day". nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2020. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10. NASA and the Michoud team will shortly send the first fully assembled, 212-foot-tall core stage [...] 27.6-feet-in-diameter tanks and barrels.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  40. "space launch system" (PDF). nasa.gov. 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-08-13.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  41. Chris Bergin (14 September 2011). "SLS finally announced by NASA – Forward path taking shape". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 September 2019. สืบค้นเมื่อ 26 January 2012.
  42. 42.0 42.1 Evans, Ben (2 May 2020). "NASA Orders 18 More RS-25 Engines for SLS Moon Rocket, at $1.79 Billion". AmericaSpace. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 August 2021. สืบค้นเมื่อ 13 October 2021.
  43. Sloss, Philip (2 January 2015). "NASA ready to power up the RS-25 engines for SLS". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2015-03-10.
  44. Boen, Brooke (2015-03-02). "RS-25: The Clark Kent of Engines for the Space Launch System". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2021-03-29.
  45. Harbaugh, Jennifer (2020-01-29). "Space Launch System RS-25 Core Stage Engines". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 March 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-08-29.
  46. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NSFStennis012015
  47. 47.0 47.1 "NASA Awards Aerojet Rocketdyne $1.79 Billion Contract Modification to Build Additional RS-25 Rocket Engines to Support Artemis Program | Aerojet Rocketdyne". www.rocket.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-03-29.
  48. Sloss, Philip (31 December 2020). "NASA, Aerojet Rocketdyne plan busy RS-25 test schedule for 2021". NASASpaceFlight. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 April 2021. สืบค้นเมื่อ 13 October 2021.
  49. Ballard, Richard (2017). "Next-Generation RS-25 Engines for the NASA Space Launch System" (PDF). NASA Marshall Space Flight Center. p. 3. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 October 2021. สืบค้นเมื่อ 13 October 2021.
  50. "Four to Five: Engineer Details Changes Made to SLS Booster". 10 January 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2020. สืบค้นเมื่อ 9 June 2020.
  51. Perry, Beverly (21 April 2016). "We've Got (Rocket) Chemistry, Part 2". Rocketology: NASA’s Space Launch System. National Aeronautics and Space Administration. สืบค้นเมื่อ 30 September 2022.
  52. Priskos, Alex (7 May 2012). "Five-segment Solid Rocket Motor Development Status" (PDF). ntrs.nasa.gov. NASA. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2018. สืบค้นเมื่อ 2015-03-11.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  53. "Space Launch System: How to launch NASA's new monster rocket". NASASpaceFlight.com. 20 February 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2019. สืบค้นเมื่อ 9 April 2012.
  54. 54.0 54.1 Bergin, Chris (8 May 2018). "SLS requires Advanced Boosters by flight nine due to lack of Shuttle heritage components". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 November 2019.
  55. 55.0 55.1 Sloss, Philip (12 July 2021). "NASA, Northrop Grumman designing new BOLE SRB for SLS Block 2 vehicle". NASASpaceFlight. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 August 2021. สืบค้นเมื่อ 13 August 2021.
  56. Tobias, Mark E.; Griffin, David R.; McMillin, Joshua E.; Haws, Terry D.; Fuller, Micheal E. (2 March 2019). "Booster Obsolescence and Life Extension (BOLE) for Space Launch System (SLS)" (PDF). NASA Technical Reports Server. NASA. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2019. สืบค้นเมื่อ 15 November 2019.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  57. Tobias, Mark E.; Griffin, David R.; McMillin, Joshua E.; Haws, Terry D.; Fuller, Micheal E. (27 April 2020). "Booster Obsolescence and Life Extension (BOLE) for Space Launch System (SLS)" (PDF). NASA Technical Reports Server. NASA. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2021. สืบค้นเมื่อ 12 August 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  58. 58.0 58.1 "Upper Stage RL10s arrive at Stennis for upcoming SLS launches February 2020". NASASpaceFlight.com. 3 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2020. สืบค้นเมื่อ 15 February 2020.
  59. 59.0 59.1 "NASA'S SPACE LAUNCH SYSTEM BEGINS MOVING TO THE LAUNCH SITE" (PDF). NASA. 15 April 2020. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 October 2021. สืบค้นเมื่อ 12 October 2021.
  60. Rosenberg, Zach (8 May 2012). "Delta second stage chosen as SLS interim". Flight International. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2012. สืบค้นเมื่อ 2021-10-07.
  61. 61.0 61.1 Henry, Kim (2014-10-30). "Getting to Know You, Rocket Edition: Interim Cryogenic Propulsion Stage". nasa.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-07-25.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  62. Batcha, Amelia L.; Williams, Jacob; Dawn, Timothy F.; Gutkowski, Jeffrey P.; Widner, Maxon V.; Smallwood, Sarah L.; Killeen, Brian J.; Williams, Elizabeth C.; Harpold, Robert E. (27 July 2020). "Artemis I Trajectory Design and Optimization" (PDF). NASA Technical Reports Server. NASA. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 September 2021. สืบค้นเมื่อ 8 September 2021.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  63. "Space Launch System Data Sheet". SpaceLaunchReport.com. 27 May 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2014. สืบค้นเมื่อ 25 July 2014.
  64. 64.0 64.1 "SLS prepares for PDR – Evolution eyes Dual-Use Upper Stage". NASASpaceFlight.com. June 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 September 2013. สืบค้นเมื่อ 12 March 2015.
  65. "NASA confirms EUS for SLS Block 1B design and EM-2 flight". NASASpaceFlight.com. 6 June 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2014. สืบค้นเมื่อ 24 July 2014.
  66. Sloss, Philip (4 March 2021). "NASA, Boeing looking to begin SLS Exploration Upper Stage manufacturing in 2021". Nasaspaceflight. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 June 2021. สืบค้นเมื่อ 23 June 2021.
  67. Gebhardt, Chris (5 March 2022). "With all-composite cryogenic tank, Boeing eyes mass-reducing space, aviation applications". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2022. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  68. Bergin, Chris (28 March 2014). "SLS positioning for ARRM and Europa missions". NASASpaceflight.com. สืบค้นเมื่อ 8 November 2014.
  69. 69.0 69.1 69.2 "Space Launch System Lift Capabilities and Configurations" (PDF). 20 August 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2020. สืบค้นเมื่อ 7 March 2020.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  70. Davis, Jason (3 October 2016). "To Mars, with a monster rocket: How politicians and engineers created NASA's Space Launch System". The Planetary Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2020. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020.
  71. 71.0 71.1 71.2 71.3 Davis, Jason (17 May 2017). "The anatomy of a delay: Here's a timeline of twists and turns for NASA's SLS and Orion programs". The Planetary Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2020. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  72. Harwood, William (14 September 2011). "NASA unveils new super rocket for manned flights beyond Earth orbit". CBS News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2020. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020.
  73. "NASA's Giant Rocket for Deep-Space Travel Passes Key Review". Space.com. 26 July 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2021. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  74. Bergin, Chris (29 February 2012). "Exploration Mission 1: SLS and Orion mission to the Moon outlined". NASASpaceFlight.com. NASASpaceFlight. สืบค้นเมื่อ 2 September 2022.
  75. Foust, Jeff (10 December 2014). "NASA Says SLS and Orion Will Slip to 2018 Despite Extra Funding". SpaceNews.
  76. Foust, Jeff (13 April 2017). "NASA inspector general foresees additional SLS/Orion delays". SpaceNews. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2021. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020.
  77. Clark, Stephen (28 April 2017). "NASA confirms first flight of Space Launch System will slip to 2019". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2017. สืบค้นเมื่อ 29 April 2017.
  78. Clark, Stephen (20 November 2017). "NASA expects first Space Launch System flight to slip into 2020". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 August 2018. สืบค้นเมื่อ 24 May 2018.
  79. Patel, Neel (31 December 2019). "The seven most exciting space missions of 2020". MIT Technology Review. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2020. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  80. 80.0 80.1 Gebhardt, Chris (21 February 2020). "SLS debut slips to April 2021, KSC teams working through launch sims". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2020. สืบค้นเมื่อ 21 February 2020.
  81. Foust, Jeff (2 March 2020). "First SLS launch now expected in second half of 2021". SpaceNews.
  82. Clark, Stephen (1 May 2020). "Hopeful for launch next year, NASA aims to resume SLS operations within weeks". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2020. สืบค้นเมื่อ 3 May 2020.
  83. "SMSR Integrated Master Schedule" (PDF). Office of Safety and Mission Assurance. NASA. 7 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
  84. Clark, Stephen (31 August 2021). "NASA's hopes waning for SLS test flight this year". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 September 2021. สืบค้นเมื่อ 1 September 2021.
  85. Berger, Eric (31 August 2021). "NASA's big rocket misses another deadline, now won't fly until 2022". Ars Technica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 September 2021. สืบค้นเมื่อ 1 September 2021.
  86. Clark, Steven (22 October 2021). "NASA targets February launch for Artemis 1 moon mission". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2022. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  87. Sloss, Philip (21 October 2021). "Artemis 1 Orion joins SLS to complete vehicle stack". NASASpaceFlight. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 December 2021. สืบค้นเมื่อ 22 October 2021.
  88. "Artemis I Integrated Testing Update". NASA. 17 December 2021. สืบค้นเมื่อ 18 December 2021.
  89. Wall, Mike (24 February 2022). "NASA's Artemis 1 moon mission, 1st flight of new megarocket, won't launch until May". Space.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 March 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022.
  90. Barker, Nathan; Gebhardt, Chris (17 March 2022). "NASA moon rocket SLS rolls out to "rebuilt" LC-39B ahead of Artemis 1 rehearsal". NASASpaceFlight. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 March 2022. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  91. Clark, Stephen (26 April 2022). "NASA's moon rocket rolls back to Vehicle Assembly Building for repairs". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 26 April 2022.
  92. Clark, Stephen (22 June 2022). "NASA not planning another Artemis 1 countdown dress rehearsal". Spaceflightnow. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2022. สืบค้นเมื่อ 24 June 2022.
  93. "The SLS rocket finally has a believable launch date, and it's soon". Ars Technica. 20 July 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2022. สืบค้นเมื่อ 20 July 2022.
  94. Anthony Cuthbertson; Vishwam Sankaran; Johanna Chisholm; Jon Kelvey (29 August 2022). "Nasa scrambles to fix Moon rocket issues ahead of Artemis launch – live". The Independent (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 29 August 2022.
  95. CNN, Ashley Strickland (29 August 2022). "Today's Artemis I launch has been scrubbed after engine issue". CNN. สืบค้นเมื่อ 29 August 2022.
  96. Foust, Jeff (29 August 2022). "First Artemis 1 launch attempt scrubbed". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 29 August 2022.
  97. Foust, Jeff (30 August 2022). "Next Artemis 1 launch attempt set for Sept. 3". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 31 August 2022.
  98. Strickland, Ashley (2022-09-01). "Artemis I launch team is ready for another 'try' on Saturday". CNN. Warner Bros Discovery. สืบค้นเมื่อ 2022-09-02.
  99. Foust, Jeff (3 September 2022). "Second Artemis 1 launch attempt scrubbed". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 4 September 2022.
  100. Gebhardt, Chris (8 September 2022). "NASA discusses path to SLS repairs as launch uncertainty looms for September, October". NASASpaceflight. สืบค้นเมื่อ 8 September 2022.
  101. Kraft, Rachel (September 12, 2022). "NASA Adjusts Dates for Artemis I Cryogenic Demonstration Test and Launch; Progress at Pad Continues". NASA. สืบค้นเมื่อ September 16, 2022.
  102. Kraft, Rachel (24 September 2022). "Artemis I Managers Wave Off Sept. 27 Launch, Preparing for Rollback – Artemis". NASA Blogs. สืบค้นเมื่อ 24 September 2022.
  103. "NASA to Roll Artemis I Rocket and Spacecraft Back to VAB Tonight – Artemis". blogs.nasa.gov (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-09-26.
  104. Foust, Jeff (26 September 2022). "SLS to roll back to VAB as hurricane approaches Florida". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 27 September 2022.
  105. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nasa-20220930
  106. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nasa-blog-20221012

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "OIG-20-018" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SFF-20110915" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "MAB-20110927" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "cstf20111004" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SASRelease" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "huffpo20140909" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "wapo20210225" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Garver1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Plait1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "arstechnica-20200501" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "POL-20200911" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Committee Final Report" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TPSStatement" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "HOUSE-20110914" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PBA-20110824" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TSR-20110915" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TMC-20111021" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SPRF-20110721" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SPRF-20111012" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SPRF-20100902" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ARS-20190619" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SPN-20190619" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TSRHeavy" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "nasa-20200501" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "OIG-20190827" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SN-20190828" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "eric1aug2019" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "alan7dec2011" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "john20150708" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ULAArchitecture" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TSR-20110606" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "MS-20110514" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TSR-20111024" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "NSF-20210929" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Falcon12412" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2020_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2019_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2018_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2017_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2016_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2015_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2014_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2013_SpendPlan" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2014_Request" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "FY2013_Request" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ST20121227" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "nsf-20201204" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SFN-20210309" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SFN-20210115" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "OIG-20-012" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "gao-19-377" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "nsf-20210719" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "boeing-20210714" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "highlights-202002" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "budget-FY2021" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "gsd-pdr-2016" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า