ยึดเซ็นทรัล
ยึดเซ็นทรัลด้วยรักและสันติภาพ (อังกฤษ: Occupy Central with Love and Peace, OCLP) มักย่อเป็น ยึดเซ็นทรัล (Occupy Central) เป็นการประท้วงยึดครองที่ปราศจากความรุนแรงเพื่อสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปในเซ็นทรัล ฮ่องกง ซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2557[3] เดิมมีกำหนดเริ่มในครึ่งหลังของปี 2557
讓愛與和平佔領中環 | |
ชื่อย่อ | OCLP (和平佔中) |
---|---|
สถาปนา | 27 มีนาคม ค.ศ.2013 |
วัตถุประสงค์ | The election of the Chief Executive of Hong Kong beginning in 2017 by universal suffrage consistent with accepted international standards.[1] |
ที่ตั้ง | |
บุคลากรหลัก |
|
เว็บไซต์ | oclp |
ยึดเซ็นทรัล | |||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 讓愛與和平佔領中環 | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 让爱与和平占领中环 | ||||||||||||
| |||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 和平佔中 | ||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 和平占中 | ||||||||||||
|
เบนนี ไถ่ รองศาสตราจารย์กฎหมายแห่งวิทยาลัยฮ่องกง ริเริ่มการรณรงค์ดังกล่าวในเดือนมกราคม 2556 เขาทำนายว่าพลเมืองอย่างน้อย 10,000 คนจะเข้าร่วมการประท้วงเพื่อยึดเซ็นทรัลในเดือนกรกฎาคม 2557 หากสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปสำหรับการเลือกตั้งประธานบริหารปี 2560 และการเลือกตั้งสภานิติบัญญัติปี 2563 ไม่ดำเนินไปตาม "มาตรฐานระหว่างประเทศ"
ผู้สังเกตการณ์สังเกตว่า การรณรงค์ขบวนการยึดครองมีแนวโน้มเกิดหลังเฉียว เซียวหยาง ประธานคณะกรรมาธิการกฎหมายสภาประชาชนแห่งชาติจีน แถลงว่า กำหนดให้ผู้สมัครประธานบริหารรักทั้งประเทศ (จีน) และฮ่องกง และไม่เผชิญหน้ารัฐบาลกลาง ซึ่งตัดผู้สมัครจากค่ายนิยมประชาธิปไตยฝ่ายค้านอย่างชะงัด[4] มีการยืนยันเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2557 เมื่อสภาประชาชนแห่งชาติแถลงว่า การเลือกตั้งประธานบริหารฮ่องกงอันเป็นดินแดนของจีน จะถูกจำกัดเฉพาะผู้สมัครที่สนับสนุนรัฐบาลกลางของจีน[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ "OCLP Basic Tenets". Occupy Central with Love and Peace. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-30. สืบค้นเมื่อ 30 September 2014.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 กรกฎาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2015.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) Association for Conversation of Hong Kong Indigenous Languages Online Dictionary for Hong Kong Hakka and Hong Kong Punti (Weitou dialect) - ↑ "The Associated Press on Twitter: "BREAKING: Hong Kong pro-democracy leaders kick off `Occupy Central' protest in big challenge to Beijing."". สืบค้นเมื่อ 28 September 2014.
- ↑ Lee, Colleen; But, Joshua (25 March 2013). "Opponents of Beijing ineligible to be CE: top Chinese official". South China Morning Post. สืบค้นเมื่อ 27 March 2013.
- ↑ "Hong Kong braces for protests as China rules out full democracy". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06. สืบค้นเมื่อ 28 September 2014.