ภาษาญ้อ
ภาษาญ้อ (Nyaw) หรือ ภาษาไทญ้อ (Tai Yo/Tai Nyaw) หรือ ภาษาไทแมน (Tai Mène) หรือ ภาษาย้อ[4] เป็นภาษากลุ่มไทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีความใกล้ชิดกับภาษาไทเปาในประเทศเวียดนาม ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Tai Do และ Tai Quy Chau[5] เดิมเคยเขียนเป็นอักษรไทญ้อ แต่ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว[1] ภาษานี้พูดกันในหมู่ชาวไทญ้อซึ่งมีอยู่ในประเทศไทยราว 50,000 คน (พ.ศ. 2533) โดยในปัจจุบันพบได้ที่จังหวัดสกลนคร หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มหาสารคาม ปราจีนบุรี และสระบุรี พบได้มากที่อำเภอนาหว้า อำเภอบ้านแพง อำเภอท่าอุเทน อำเภอโพนสวรรค์ อำเภอศรีสงคราม อำเภอสว่างแดนดิน อำเภอเมืองสกลนคร อำเภออรัญประเทศ เป็นต้น ส่วนใหญ่อพยพมาจากทางตอนเหนือของแขวงหลวงพระบาง และแขวงคำม่วนประเทศลาว
ภาษาญ้อ | |
---|---|
ศัพท์ "ไทญ้อ" เขียนด้วยอักษรลายตัย | |
ภูมิภาค | ภาคอีสาน, ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง, ประเทศเวียดนาม |
ชาติพันธุ์ | ชาวญ้อ |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (60,000 อ้างถึง1990 - 1995 census)[1] |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | โกว๊กหงือ (เวียดนาม), ไทย (ไทย), ลายตัย (โบราณ) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | อย่างใดอย่างหนึ่ง:tyj – Tai Donyw – Tai Nyaw |
ภาษาญ้อจัดอยู่ในตระกูลภาษาขร้า-ไท มีพยัญชนะ 19 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์ 4 เสียง พยัญชนะควบกล้ำ 6 เสียง
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Tai Do ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Tai Nyaw ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก) - ↑ Chamberlain (1991), p. 119
- ↑ Pittayawat Pittayaporn [พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์] (2009). The Phonology of Proto-Tai. PhD dissertation, Department of Linguistics, Cornell University. p. 318.
- ↑ "หมู่บ้านวัฒนธรรมชนเผ่าไทญ้อบ้านโพน | CBT Thailand". cbt.
- ↑ [1]
อ่านเพิ่ม
แก้- Boonsner, Thepbangon. 1982. An Introduction to the Nɔɔ dialect.
- Nantaporn Ninjinda. 1989. A Lexical Study of Nyo Spoken in Sahon Nakhon, Nakhon Phanom, and Prachin Buri. Silpakorn University (in Thai).
- Pacqement, Jean. 2018. The Nyo language spoken at Kut Kho Kan village (Loeng Nok Tha district, Yasothon province): A Language Documentation Research at Roi Et Rajabhat University[ลิงก์เสีย]. Sikkha Journal of Education 5(2). Nakhon Ratchasima: Vongchavalitkul University.
- เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. ภาษาถิ่นตระกูลไทย. กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล. 2531.
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.
บรรณานุกรม
แก้- Chamberlain, James R. 1983. The Tai Dialects of Khammouan Province: Their Diversity and Origins. 16th International Conference on Sino-Tibetan Language and Linguistics, 16–18 September (Seattle, Washington, 1983)
- Chamberlain, James R. 1991. "Mène: A Tai dialect originally spoken in Nghệ An (Nghệ Tinh), Vietnam -- preliminary linguistic observations and historical implications." Journal of the Siam Society 79(2):103-123.
- Chamberlain, James R. 1998. "The Origin of the Sek: Implications for Tai and Vietnamese History". Journal of the Siam Society 86.1 & 86.2: 27-48.
- Finot, Louis. 1917. Recherches sur la Littérature Laotienne. BEFEO 17.5.
- Robequain, Charles. 1929. Le Thanh Hoá. EFEO, Paris et Bruxelles.
- Thananan, Trongdee. 2014. "The Lao-speaking Nyo in Banteay Meanchey Province of Cambodia". In Research Findings in Southeast Asian Linguistics, a Festschrift in Honor of Professor Pranee Kullavanijaya. Manusya, Special Issue 20. Bangkok: Chulalongkorn University Press.