ภาษาจาม
ภาษาออสโตรนีเซียที่พูดในประเทศเวียดนามและกัมพูชา
จาม (จาม: ꨌꩌ) เป็นภาษามาลาโย-โพลีเนเซียในตระกูลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวจามแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นภาษาหลักในดินแดนอดีตอาณาจักรจามปาที่กินพื้นที่ทางตะวันออกของประเทศกัมพูชาและเวียดนามใต้ในปัจจุบัน ภาษาจามตะวันตกมีผู้พูด 220,000 คนในประเทศกัมพูชาและ 25,000 คนในประเทศเวียดนาม ส่วนภาษาจามตะวันออกมีผู้พูด 73,000 คนในประเทศเวียดนาม[2] รวมแล้วมีผู้พูดประมาณ 320,000 คน
ภาษาจาม | |
---|---|
ꨌꩌ | |
คำว่า จาม ในอักษรจาม | |
ออกเสียง | [cam] |
ประเทศที่มีการพูด | ประเทศกัมพูชาและประเทศเวียดนาม |
ภูมิภาค | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป |
ชาติพันธุ์ | ชาวจาม |
จำนวนผู้พูด | [1] |
ตระกูลภาษา | ออสโตรนีเซียน
|
รูปแบบก่อนหน้า | ภาษาจามดั้งเดิม
|
ภาษาถิ่น | จามตะวันตก (245,000 คน)[2]
จามตะวันออก (73,000 คน)
|
ระบบการเขียน | อักษรจาม, อักษรอาหรับ, อักษรละติน, อักษรเขมร |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | เวียดนาม กัมพูชา |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | อย่างใดอย่างหนึ่ง:cja – จามตะวันตกcjm – จามตะวันออก |
สัทวิทยา
แก้ภาษาจามมีเสียงพยัญชนะ 21 เสียง และเสียงสระ 9 เสียง[3]
พยัญชนะ
แก้ริมฝีปาก | ปุ่มเหงือก | เพดานแข็ง | เพดานอ่อน | เส้นเสียง | ||
---|---|---|---|---|---|---|
ระเบิด | ไม่ก้อง ไม่พ่นลม | p | t | c | k | ʔ |
ไม่ก้อง พ่นลม | pʰ | tʰ | cʰ | kʰ | ||
กักลมเข้า | ɓ | ɗ | ||||
นาสิก | m | n | ɲ | ŋ | ||
เหลว | l | |||||
เสียดแทรก | s | ɣ | h | |||
โรทิก | r* | |||||
เปิด | j | w |
- /r/ ในภาษาจามตะวันตกได้ยินเป็นเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน [ɣ] ส่วนในภาษาจามตะวันออกได้ยินเป็นเสียงลิ้นสะบัด ปุ่มเหงือก [ɾ], เสียงเลื่อน ปุ่มเหงือก [ɹ] หรือเสียงรัว ปุ่มเหงือก [r][4]
สระ
แก้สระเดี่ยว
แก้หน้า | กลาง | หลัง | |
---|---|---|---|
สูง | i | ɨ | u |
กลาง-สูง | e | ə | o |
กลาง-ต่ำ | ɛ | ɔ | |
ต่ำ | a |
สระประสมสองเสียง
แก้ia, iɯ (เกิดหน้า -ʔ เท่านั้น), ea, ua, oa, au (เกิดหน้า -ʔ เท่านั้น), iə, ɛə, ɔə, uə
ระบบการเขียน
แก้อักษรจามเป็นอักษรพราหมี[2] ซึ่งแบ่งออกเป็นสองแบบ ได้แก่ Akhar Thrah (จามตะวันออก) กับ Akhar Srak (จามตะวันตก) ภาษาจามตะวันตกเขียนด้วยอักษรอาหรับหรืออักษร Akhar Srak[5][6]
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ จามตะวันตก ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
จามตะวันออก ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก) - ↑ 2.0 2.1 2.2 "Cham". The Unicode Standard, Version 11.0 (ภาษาอังกฤษ). Mountain View, CA: Unicode Consortium. p. 661.
- ↑ Ueki, Kaori (2011). Prosody and Intonation of Western Cham (PDF) (วิทยานิพนธ์ Ph.D.). University of Hawaiʻi at Mānoa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-29. สืบค้นเมื่อ 2021-06-25.
- ↑ Smith, Alexander D. (2013). A Grammatical Sketch of Eastern Cham (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ Hosken, Martin (2019), L2/19-217 Proposal to Encode Western Cham in the UCS (PDF) (ภาษาอังกฤษ)
- ↑ Bruckmayr, Philipp (2019). "The Changing Fates of the Cambodian Islamic Manuscript Tradition". Journal of Islamic Manuscripts (ภาษาอังกฤษ). 10 (1): 1–23. doi:10.1163/1878464X-01001001.
อ่านเพิ่ม
แก้- Grant, Anthony; Sidwell, Paul, บ.ก. (2005). Chamic and Beyond: Studies in Mainland Austronesian Languages. Pacific Linguistics (ภาษาอังกฤษ). Vol. 569. Canberra: Australian National University. doi:10.15144/PL-569. hdl:1885/146271. ISBN 0-85883-561-4.
- Thurgood, Graham (1999). From Ancient Cham to Modern Dialects: Two Thousand Years of Language Contact and Change: With an Appendix of Chamic Rreconstructions and Loanwords. Oceanic Linguistics Special Publication No. 28. Honolulu: University of Hawaii Press. ISBN 0-8248-2131-9.
- Aymonier, Étienne; Cabaton, Antoine (1906). Dictionnaire čam-français. Volume 7 of Publications de l'École française d'Extrême-Orient. Paris: E. Leroux.
- Aymonier, Etienne (1889). Grammaire de la langue chame. Saigon: Imprimerie coloniale.
- Blood, D. L., & Blood, D. (1977). East Cham language. Vietnam data microfiche series, no. VD 51-72. Huntington Beach, Calif: Summer Institute of Linguistics.
- Blood, D. L. (1977). A romanization of the Cham language in relation to the Cham script. Vietnam data microfiche series, no. VD51-17. Dallas: Summer Institute of Linguistics.
- Edwards, E. D.; Blagden, C. O. (1939). "A Chinese Vocabulary of Cham Words and Phrases". Bulletin of the School of Oriental Studies, University of London. 10 (1): 53–91. JSTOR 607926.
- Braginsky, Vladimir (2014). Classical Civilizations of South-East Asia. Routledge. pp. 398–. ISBN 978-1-136-84879-7.
- Moussay, Gerard (1971). Dictionnaire Cam-Vietnamien-Français (ภาษาฝรั่งเศส). Phan Rang: Centre Culturel Cam.
- Sakaya (2014). Từ điển Chăm (ภาษาเวียดนาม). Hà Nội: Nhà xuất bản Tri Thức. ISBN 978-604-908-999-2.
- Various (2011). Ngôn ngữ Chăm: thực trạng và giải pháp (ภาษาเวียดนาม). Hà Nội: Nhà xuất bản Phụ Nữ.
แหล่งข้อมูล
แก้- Kaipuleohone has an archive including written materials of Cham