หงสาวดีมิบะยา
(เปลี่ยนทางจาก พระนางหงสาวดีมิพยา)
หงสาวดีมิบะยา[note 1] (พม่า: ဟံသာဝတီ မိဖုရား, พม่า: ဟံသာဝတီ မိဖုရား, ออกเสียง: [hàɰ̃.θà.wə.dì mḭ.bə.já] ฮานตาวะดีมิบะย่า; ป. ค.ศ. 1536 – มิถุนายน ค.ศ. 1606) เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้านันทบุเรงแห่งราชวงศ์ตองอู ดำรงพระอิสริยยศระหว่าง ค.ศ. 1581 ถึง 1599 และเป็นพระราชมารดาของเจ้าชายถึง 3 พระองค์คือมังกะยอชวาที่ 1 แห่งตองอู มังกะยอชวาที่ 2 แห่งอังวะ และตะโดธรรมราชาที่ 3 กษัตริย์แห่งเมืองแปร
หงสาวดีมิบะยา ဟံသာဝတီ မိဖုရား | |
---|---|
อัตรมเหสีแห่งพม่า | |
ดำรงพระยศ | 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1581 – 19 ธันวาคม [ตามปฎิทินเก่า: 9 ธันวาคม] 1599 |
ก่อนหน้า | พระนางจันทาเทวี |
ถัดไป | พระนางสิริมหาธัมมราชาธิบดีเทวี |
ประสูติ | ป. ค.ศ. 1536 ตองอู |
สวรรคต | มิถุนายน ค.ศ. 1606 วันที่ 1 เดือน Waso 968 ME ตองอู |
คู่อภิเษก | พระเจ้านันทบุเรง |
พระราชบุตร | 1. Thakin Gyi[1] 2. Min Htwe (พระราชธิดา) 3. มังกยอชวา 4. พระนางคีนมะน่อง (พระราชธิดา) 5. Khin Pu (พระราชธิดา) 6. มังรายกะยอฉะวาที่ 2 7. ตะโดธรรมราชาที่ 3 |
ราชวงศ์ | ตองอู |
พระราชบิดา | พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ |
พระราชมารดา | พระนางธัมมเทวี? |
ศาสนา | พุทธเถรวาท |
ในวัฒนธรรมร่วมสมัย
แก้พระนางปรากฏในภาพยนตร์ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 2550 ในฐานะพระอัครมเหสีที่ประทับข้างพระเจ้านันทบุเรง[2][3] และ พ.ศ. 2568 ในละครโทรทัศน์ จอมใจอโยธยา รับบทโดย อนุสรา วันทองทักษ์ ในชื่อว่า พระนางเกศราเทวี[4][5][6]
หมายเหตุ
แก้- ↑ หงสาวดีมิบะยา แปลว่า พระมเหสีกรุงหงสาวดี แต่พระนามเดิมไม่ปรากฏในพงศาวดาร
อ้างอิง
แก้- ↑ Yazawin Thit Vol. 2 2012: 239
- ↑ "ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-13. สืบค้นเมื่อ 2022-12-31.
- ↑ https://www.sanook.com/movie/20454/gallery/
- ↑ https://mgronline.com/drama/detail/9680000014648
- ↑ https://drama.kapook.com/view288868.html
- ↑ https://www.sanook.com/movie/180399/
บรรณานุกรม
แก้- Kala, U (1724). Maha Yazawin (ภาษาพม่า). Vol. 1–3 (2006, 4th printing ed.). Yangon: Ya-Pyei Publishing.
- Maha Sithu (1798). Myint Swe; Kyaw Win; Thein Hlaing (บ.ก.). Yazawin Thit (ภาษาพม่า). Vol. 1–3 (2012, 2nd printing ed.). Yangon: Ya-Pyei Publishing.
- Ohn Shwe, U; Natshinnaung (1920). Natshinnaung Yadu Collection (ภาษาพม่า) (1966, 3rd printing ed.). Yangon: Hanthawaddy.
- Royal Historians of Burma (c. 1680). U Hla Tin (Hla Thamein) (บ.ก.). Zatadawbon Yazawin (1960 ed.). Historical Research Directorate of the Union of Burma.