ผู้ใช้:Larazhivago/อุตสาหกรรมภาพยนตร์

อุตสาหกรรมภาพยนตร์ (อังกฤษ: film industry, motion picture industry) ประกอบด้วยสถาบันต่าง ๆ ของการสร้างภาพยนตร์ทางด้านเทคโนโลยีและทางด้านพาณิชย์ ได้แก่ บริษัทผู้ผลิตภาพยนตร์ สตูดิโอภาพยนตร์ การถ่ายภาพยนตร์ อนิเมชัน การเขียนบทภาพยนตร์ การเตรียมการผลิตภาพยนตร์ (pre-production) การดำเนินงานหลังการถ่ายทํา (post-production) เทศกาลภาพยนตร์ การจัดจำหน่ายและการตลาด นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และบุคลากรภาพยนตร์อื่น ๆ

แค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างภาพยนตร์เกือบจะทั้งหมดอยู่ที่การผลิตภาพยนตร์ซึ่งมักเป็นส่วนที่บริษัทผู้ผลิตต้องจัดการ ความก้าวหน้าในอุปกรณ์สำหรับการสร้างภาพยนตร์ที่มีราคาไม่สูงที่ยอมรับได้ และการขยายโอกาสในการหาเงินทุนจากแหล่งทุนภายนอกอุตสาหกรรม ช่วยให้มีการพัฒนาการผลิตภาพยนตร์อิสระได้มากขึ้น [1][2] เมื่อพิจารณาเฉพาะสถิติรายได้ตาม บ็อกซ์ออฟฟิศ [3] อุตสาหกรรมนี้สร้างรายได้ทั่วโลก 41.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ (หรือราว 1.33 ล้านล้านบาท) ในปี ค.ศ. 2017 และคาดว่าในปี ค.ศ. 2020 จะสร้างรายได้ 49.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ (หรือราว 1.60 ล้านล้านบาท) มีอัตราเติมโตเฉลี่ยที่ 7.1%

ฮอลลีวูดเป็นอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของโลก [4] และใหญ่ที่สุดในด้านรายได้รวมจากสถิติบ็อกซ์ออฟฟิศ ภาพยนตร์อินเดีย (รวมทั้ง บอลลีวู้ด) เป็นอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดในด้านจำนวนภาพยนตร์ที่ผลิตและจำนวนตั๋วเข้าชมที่จำหน่ายได้ โดยมียอดขายตั๋วเข้าชมรายปี 3.5 พันล้านตั๋วทั่วโลก (เทียบกับจำนวนตั๋วเข้าชมรายปี 2.6 พันล้าน) [5] และจำนวนภาพยนตร์ 1,986 เรื่องที่ผลิตรายปี [6]

อุตสาหกรรมภาพยนตร์สมัยใหม่ แก้

ตลาดภาพยนตร์ทั่วโลกมีรายได้ถึง 38.6 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี ค.ศ. 2016 (พ. ศ. 2559) สถิติรายได้ตามบ็อกซ์ออฟฟิศแบ่งตามภูมิภาค ได้แก่ เอเชียแปซิฟิก 14.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ (หรือราว 483.1 แสนล้านบาท) อเมริกาและแคนาดา 11.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ (หรือราว 469.5 แสนล้านบาท) และยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ รวมกัน 9.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ (หรือราว 308.1 แสนล้านบาท) [7][8] ในปี พ. ศ. 2559 ตลาดที่ใหญ่ที่สุดตามบ็อกซ์ออฟฟิศ คือ สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น อินเดีย และสหราชอาณาจักร ตามลำดับ ขณะที่ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศที่มีจำนวนภาพยนตร์ที่ผลิตมากที่สุด คือ อินเดีย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนในยุโรปมีศูนย์ผลิตภาพยนตร์ที่สำคัญ ได้แก่ ประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน และสหราชอาณาจักร [9]

อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย แก้

เศรษฐกิจ แก้

สถิติ แก้

อุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดตามจำนวนการผลิตภาพยนตร์ แก้

 
ประเทศตามจำนวนการผลิตภาพยนตร์ในปี ค.ศ. 2015

รายชื่อต่อไปนี้เป็นประเทศ 15 อันดับแรกที่มีภาพยนตร์เรื่องยาว (นิยาย อนิเมชัน และสารคดี) ซึ่งจัดทำขึ้นตามข้อมูลของสถาบันสถิติยูเนสโก ในปี พศ. 2558 [10] (ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น)

อันดับ ประเทศ จำนวน
ภาพยนตร์
ปี ค.ศ.
1   อินเดีย 1,986 2017[6]
2   ไนจีเรีย 997 2011
3   สหรัฐ 791 2015
4   จีน 686 2015
5   ญี่ปุ่น 594 2017[11]
6   ฝรั่งเศส 300 2015
7   สหราชอาณาจักร 298 2015
8   เกาหลีใต้ 269 2015
9   สเปน 255 2015
10   เยอรมนี 226 2015
11   อิตาลี 185 2015
12   อาร์เจนตินา 182 2015
13   เม็กซิโก 140 2015
14   ตุรกี 137 2015
15   บราซิล 129 2015

รายได้ตามบ็อกซ์ออฟฟิศ แก้

อันดับ ประเทศ รายได้
พันล้านเหรียญสหรัฐ
ปี ค.ศ. บ็อกซ์ออฟฟิศ
ตามประเทศผู้ผลิต[12]
โลก 40.60 2017[13]
1   สหรัฐ 10.24 2017[14] 88.8% (2015)
2   จีน 8.59 2017[15] 53.84% (2017)[15]
3   อินเดีย 2.39 2017[16] 85% (2015)
4   ญี่ปุ่น 2.25 2017[14] 54.9% (2017)[11]
5   สหราชอาณาจักร 1.73 2017[14] 44.3% (2015)
6   เกาหลีใต้ 1.52 2017[14] 52.2% (2015)
7   ฝรั่งเศส 1.48 2017[14] 33.7% (2015)
8   เยอรมนี 1.19 2017[14] 26.3% (2017)[17]
9   ออสเตรเลีย 0.91 2017[14] 7.2% (2015)
10   เม็กซิโก 0.86 2017[14] 5.9% (2015)
11   แคนาดา 0.77 2015[18] 1.9% (2015)
12   บราซิล 0.70 2016[19] 11.8% (2015)
13   อิตาลี 0.70 2016[19] 20.8% (2015)
14   รัสเซีย 0.70 2016[19] 17.4% (2015)
15   สเปน 0.70 2016[19] 19.4% (2015)

ตลาดที่ใหญ่ที่สุดตามยอดการเข้าชมตามบ็อกซ์ออฟฟิศ แก้

อันดับ ประเทศ ยอดการเข้าชม
(ตั๋วล้านใบ)
ปี ค.ศ. ที่มา
1   อินเดีย 2,263 2016 [20]
2   จีน 1,620 2017 [21]
3   สหรัฐ 1,181 2016 [20]
4   เม็กซิโก 331 2016 [20]
5   เกาหลีใต้ 218 2016 [20]
6   ฝรั่งเศส 213 2016 [20]
7   รัสเซีย 192 2016 [20]
8   บราซิล 185 2016 [20]
9   ญี่ปุ่น 175 2017 [22]
10   สหราชอาณาจักร 168 2016 [20]

อ้างอิง แก้

  1. "The unstoppable rise of independent films". FT.com. Financial Times. 20 February 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2018. In the five years since the Academy expanded the best picture list to a possible 10, independents have taken up roughly half the nominations; and four times out of five, ...
  2. "BFI stats for 2017 show new record for film production spend in the UK". https://stephenfollows.com. British Film Institute. 31 January 2018. สืบค้นเมื่อ 15 June 2018. The market share of independent UK films at the box office was 9.5%, an increase from 7.4% in 2016, {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  3. "Global box office revenue from 2016 to 2020 (in billion U.S. dollars)". Statista. 2018. สืบค้นเมื่อ 16 June 2018.
  4. The earliest documented account of an exhibition of projected motion pictures in the United States was in June 1894 in Richmond, Indiana by Charles Francis Jenkins
  5. Matusitz, J., & Payano, P. (2011). The Bollywood in Indian and American Perceptions: A Comparative Analysis. India Quarterly: A Journal of International Affairs, 67(1), 65–77. doi:10.1177/097492841006700105
  6. 6.0 6.1 "Indian Feature Films Certified During The Year 2017". Film Federation of India. 31 March 2017. สืบค้นเมื่อ 15 June 2018.
  7. Lang, Brent (22 March 2017). "Global Box Office Hits Record $38.6 Billion in 2016 Even as China Slows Down". Variety. สืบค้นเมื่อ 24 June 2017.
  8. "Theatrical Market Statistics 2016" (PDF). MPAA. สืบค้นเมื่อ 24 June 2017.
  9. "European Audiovisual Observatory" (PDF) (Press release). European Audiovisual Observatory, Council of Europe. สืบค้นเมื่อ 11 May 2009.
  10. Feature films - Total number of national feature films produced, UNESCO Institute for Statistics
  11. 11.0 11.1 "Statistics Of Film Industry In Japan". Motion Picture Producers Association of Japan, Inc. สืบค้นเมื่อ 15 June 2018.
  12. "Percentage of GBO of all films feature exhibited that are national". UNESCO Institute for Statistics. สืบค้นเมื่อ 1 November 2013.
  13. "New Report: Global Entertainment Market Expands on Multiple Fronts". Motion Picture Association of America. April 4, 2018.
  14. 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 14.5 14.6 14.7 "Leading film markets worldwide in 2017, by gross box office revenue (in billions U.S. dollars)". Statista. สืบค้นเมื่อ May 2, 2018.
  15. 15.0 15.1 "Chinese mainland box office sees great gains in 2017, paving way for more foreign films from outside Hollywood". Global Times. 1 January 2018.
  16. Ramachandran, Naman (4 March 2018). "FICCI-Frames: TV Fuels Indian Creative Industry Growth, Say Studies". Variety.
  17. "German Box Office 2017: Revenues Rebound to $1.2 Billion". The Hollywood Reporter. January 4, 2018.
  18. "Canada box office revenue 2015". Statista. January 2016. สืบค้นเมื่อ May 2, 2018.
  19. 19.0 19.1 19.2 19.3 Theatrical Market Statistics 2016 (MPAA)
  20. 20.0 20.1 20.2 20.3 20.4 20.5 20.6 20.7 "Leading film markets worldwide by number of tickets sold 2016". Statista. สืบค้นเมื่อ 2 June 2017.
  21. "Leading film markets worldwide in 2017, by number of tickets sold (in millions)". Statista. สืบค้นเมื่อ 13 December 2017.
  22. Schilling, Mark (25 January 2018). "Japan Box Office Slides in 2017, as Hollywood Gains". Variety.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้