บิ๊กโฟร์ (การธนาคาร)

โดยทั่วไป คำว่า บิ๊กโฟร์ (การธนาคาร) จะพบในสื่อต่างชาติ[1] [2]ที่กล่าวถึงธนาคารที่มีทรัพย์สิน และ ส่วนแบ่งตลาด ใกล้เคียงกันหรือ ธนาคารที่มีขนาดของจำนวนเงินฝากใกล้เคียงกัน 4 แห่งของแต่ล่ะประเทศ

จีน จีน แก้

ในประเทศจีน ธนาคารใหญ่ทั้ง 4 แห่ง[3]เป็นรัฐวิสาหกิจโดยมีรัฐบาลกลางของจีนเป็นเจ้าของ มีมูลค่าทรัพย์สินมากกว่า 2,500 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ [4]

ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ แก้

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร แก้

สหรัฐ สหรัฐอเมริกา แก้

ในสหรัฐอเมริกา ธนาคารที่ใหญ่ที่สุด 4 ลำดับ มีมูลค่าเงินฝากรวมกันทั้งสิ้น 35 % ของมูลค่าเงินฝากทั้งหมดในระบบการเงิน[6]

ไทย ไทย แก้

ในยุคศักดินาก่อนการปฏิวัติสยามในปี 2475 ระบบเศรษฐกิจและธนาคารถูกควบคุม โดยมหาอำนาจอย่างอังกฤษ และ ฝรั่งเศส ทำให้ บิ๊กโฟร์ ธนาคารของไทยเป็นของอังกฤษและฝรั่งเศส[7]

ในปี พ.ศ. 2560 ธนาคารในไทยที่มีมูลค่าทรัพย์สิน ส่วนแบ่งตลาด สูงสุด 4 ลำดับ [8] [9] มีมูลค่าทรัพย์สินและส่วนแบ่งตลาดมากกว่า 60  % ของมูลค่าเงินฝากทั้งหมดในระบบ


อ้างอิง แก้

  1. http://www.visualcapitalist.com/the-banking-oligopoly-in-one-chart/
  2. https://www.thebalance.com/the-big-4-us-banks-315130
  3. http://www.ryt9.com/s/iq28/2148892
  4. http://www.relbanks.com/worlds-top-banks/assets
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-18. สืบค้นเมื่อ 2017-05-01.
  6. https://www.trefis.com/stock/jpm/articles/284249/big-four-u-s-banks-held-35-of-all-u-s-deposits-at-the-end-of-2014/2015-03-10
  7. https://pantip.com/topic/32564155
  8. Fitch Affirms Thailand's 4 Largest Banks http://www.reuters.com/article/idUSFit92350320150522
  9. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-18. สืบค้นเมื่อ 2017-05-01.