บทจดหมายของเปาโล

ช่วงเวลาเขียนที่เป็นไปได้
ของบทจดหมายของเปาโล
จดหมายระหว่างถูกกักขัง
จดหมายถึงศิษยาภิบาล
36(ค.ศ. 31–36: การกลับใจของเปาโล)
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย
49
50จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 1
51จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2
52
53
54จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1
55จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 2
56
57จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโรม
58
59
60
61
62จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวฟีลิปปี
จดหมายของนักบุญเปาโลถึงฟีเลโมน
จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโคโลสี
จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัส
63
64จดหมายของนักบุญเปาโลถึงทิโมธี ฉบับที่ 1
65จดหมายของนักบุญเปาโลถึงทิโมธี ฉบับที่ 2
66จดหมายของนักบุญเปาโลถึงทิตัส
67(ค.ศ. 64–67: การเสียชีวิตของเปาโล)

บทจดหมายของเปาโล (อังกฤษ: Pauline epistles, Epistles of Paul หรือ Letters of Paul) เป็นหนังสือ 13 เล่มในภาคพันธสัญญาใหม่ที่เชื่อว่าเขียนโดยเปาโลอัครทูต แม้ว่าบางเล่มเป็นที่ถกเถียงในเรื่องตัวตนของผู้เขียน บทจดหมายเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารศาสนาคริสต์ที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่หลงเหลืออยู่ บทจดหมายให้ข้อเชิงลึกเกี่ยวกับความเชื่อและข้อโต้แย้งในศาสนาคริสต์ยุคแรก บทจดหมายเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในสารบบของพันธสัญญาใหม่ และเป็นตำราพื้นฐานสำหรับทั้งเทววิทยาและจริยศาสตร์ศาสนาคริสต์

นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่าแท้จริงแล้วเปาโลเขียนบทจดหมาย 7 เล่มจากทั้งหมด 13 เล่ม (กาลาเทีย, โรม, 1 โครินธ์, 2 โครินธ์, ฟีเลโมน, ฟีลิปปี, 1 เธสะโลนิกา) มีบทจดหมาย 3 เล่มที่เขียนในนามเปาโลซึ่งมักถูกมองว่าเป็นงานเขียนปลอมแปลง (1 ทิโมธี, 2 ทิโมธี, ทิตัส)[1] ยังมีการถกเถียงอย่างกว้างขวางในเรื่องว่าเปาโลเขียนบทจดหมายอื่นอีก 3 เล่ม (2 เธสะโลนิกา, เอเฟซัส และโคโลสี) ในนามของตนหรือไม่[1] นักวิชาการบางคนระบุว่าเปาโลเขียนจดหมายซึ่งเป็นที่สงสัยเหล่านี้ด้วยความช่วยเหลือของเลขานุการ[2] ซึ่งอาจมีอิทธิพลต่อรูปแบบการเขียน ไม่ใช่ต่อเนื้อหาทางเทววิทยา จดหมายถึงชาวฮีบรูแม้ไม่ได้ระบุชื่อของเปาโล แต่ตามธรรมเนียมถือว่าเป็นงานเขียนของเปาโล (แม้ว่ามุขมณฑลโรมแสดงความสงสัยถึงตัวตนของผู้เขียน) แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ความเห็นก็โน้มไปทางในที่ไม่เชื่อว่าเปาโลเป็นผู้เขียน และปัจจุบันมีนักวิชาเพียงไม่กี่คนที่ระบุว่าบทจดหมายนี้เป็นงานเขียนของเปาโล สาเหตุเป็นเพราะว่าจดหมายถึงชาวฮีบรูมีรูปแบบและเนื้อหาที่ไม่เหมือนบทจดหมายอื่น ๆ ของเปาโล และเพราะบทจดหมายถึงชาวฮีบรูไม่ได้ระบุว่าเปาโลเป็นผู้เขียนต่างจากบทจดหมายอื่น ๆ[3]

นักวิชาการส่วนหนึ่งแย้งว่าจากรายละเอียดในชีวประวัติของเปาโล เปาโลน่าจะประสบปัญหาทางร่างกายบางอย่าง เช่น สูญเสียการมองเห็นหรือมือได้รับบาดเจ็บ และเปาโลระบุอย่างชัดเจนในบทจดหมายหลายเล่มว่าตนใช้เลขานุการในการเขียนบทจดหมาย (บางบทจดหมายบอกกระทั่งชื่อของเลขานุการผู้เขียน) ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติทั่วไปในโลกยุคกรีก-โรมัน จึงอาจจะอธิบายประเด็นของบทจดหมายบางเล่มที่ดูเหมือนไม่ใช่ของเปาโลได้[4][5][6][7]

บทจดหมายของเปาโลมักถูกวางไว้ระหว่างกิจการของอัครทูตและบทจดหมายคาทอลิก (หรือเรียกว่าบทจดหมายทั่วไป) ในคัมภีร์ไบเบิลยุคปัจจุบัน สำเนาต้นฉบับภาษากรีกส่วนใหญ่วางบทจดหมายทั่วไปไว้ก่อน[8] และสำเนาต้นฉบับอักษร Minuscule จำนวนหนึ่ง (Minuscule 175, 325, 336 และ 1424) ที่วางบทจดหมายของเปาโลไว้ท้ายสุดของพันธสัญญาใหม่

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 New Testament Letter Structure, from Catholic Resources by Felix Just, S.J.
  2. Richards, E. Randolph. Paul and First-Century Letter Writing: Secretaries, Composition and Collection. Downers Grove, IL; Leicester, England: InterVarsity Press; Apollos, 2004. [ต้องการเลขหน้า]
  3. The New Jerome Biblical Commentary, publ. Geoffrey Chapman, 1989, chapter 60, at p. 920, col. 2 "That Paul is neither directly nor indirectly the author is now the view of scholars almost without exception. For details, see Kümmel, I[ntroduction to the] N[ew] T[estament, Nashville, 1975] 392–94, 401–03"
  4. Moss, Candida R (29 April 2023). "The Secretary: Enslaved Workers, Stenography, and the Production of Early Christian Literature". The Journal of Theological Studies. 74 (1): 20–56. doi:10.1093/jts/flad001.
  5. Blumell, Lincoln H. (2006). "Scribes and Ancient Letters Implications for the Pauline Epistles". Brigham Young University. How the New Testament Came to Be: The Thirty-fifth Annual Sidney B. Sperry Symposium, ed. p. 208-226.
  6. Marshall, Dr Taylor (30 January 2015). "The Secretaries of Peter, Paul and John". Taylor Marshall.
  7. Richards, E. Randolph (1991). The Secretary in the Letters of Paul. Mohr Siebeck. ISBN 3161455754.
  8. Metzger, Bruce M. (1987). The Canon of the New Testament: Its Origin, Development, and Significance (PDF). pp. 295–96. ISBN 0198261802. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-06-01.

บรรณานุกรม

แก้
  • Aland Kurt. "The Problem of Anonymity and Pseudonymity in Christian Literature of the First Two Centuries." Journal of Theological Studies 12 (1961): 39–49.
  • Bahr, Gordon J. "Paul and Letter Writing in the First Century." Catholic Biblical Quarterly 28 (1966): 465–477. idem, "The Subscriptions in the Pauline Letters." Journal of Biblical Literature 2 (1968): 27–41.
  • Bauckham, Richard J. "Pseudo-Apostolic Letters." Journal of Biblical Literature 107 (1988): 469–494.
  • Carson, D.A. "Pseudonymity and Pseudepigraphy." Dictionary of New Testament Background. Eds. Craig A. Evans and Stanley E. Porter. Downers Grove: InterVarsity, 2000. 857–864.
  • Cousar, Charles B. The Letters of Paul. Interpreting Biblical Texts. Nashville: Abingdon, 1996.
  • Deissmann, G. Adolf. Bible Studies. Trans. Alexander Grieve. 1901. Peabody: Hendrickson, 1988.
  • Doty, William G. Letters in Primitive Christianity. Guides to Biblical Scholarship. New Testament. Ed. Dan O. Via, Jr. Philadelphia: Fortress, 1988.
  • Gamble, Harry Y. "Amanuensis." Anchor Bible Dictionary. Vol. 1. Ed. David Noel Freedman. New York: Doubleday, 1992.
  • Haines-Eitzen, Kim. "'Girls Trained in Beautiful Writing': Female Scribes in Roman Antiquity and Early Christianity." Journal of Early Christian Studies 6.4 (1998): 629–646.
  • Hart, David Bentley. "The New Testament." New Haven and London: Yale University Press: 2017. 570–574.
  • Kim, Yung Suk. A Theological Introduction to Paul's Letters. Eugene, Oregon: Cascade Books, 2011.
  • Longenecker, Richard N. "Ancient Amanuenses and the Pauline Epistles." New Dimensions in New Testament Study. Eds. Richard N. Longenecker and Merrill C. Tenney. Grand Rapids: Zondervan, 1974. 281–297. idem, "On the Form, Function, and Authority of the New Testament Letters." Scripture and Truth. Eds. D.A. Carson and John D. Woodbridge. Grand Rapids: Zondervan, 1983. 101–114.
  • Murphy-O'Connor, Jerome. Paul the Letter-Writer: His World, His Options, His Skills. Collegeville, MN: Liturgical, 1995.
  • Richards, E. Randolph. The Secretary in the Letters of Paul. Tübingen: Mohr, 1991. idem, "The Codex and the Early Collection of Paul's Letters." Bulletin for Bulletin Research 8 (1998): 151–66. idem, Paul and First-Century Letter Writing: Secretaries, Composition, and Collection. Downers Grove: InterVarsity, 2004.
  • Robson, E. Iliff. "Composition and Dictation in New Testament Books." Journal of Theological Studies 18 (1917): 288–301.
  • Slaten, Arthur Wakefield (1918) "Qualitative nouns in the Pauline epistles and their translation in the revised version". Chicago, Illonis: The University of Chicago Press. OCLC 1051723498
  • Stowers, Stanley K. Letter Writing in Greco-Roman Antiquity. Library of Early Christianity. Vol. 8. Ed. Wayne A. Meeks. Philadelphia: Westminster, 1989.
  • Wall, Robert W. "Introduction to Epistolary Literature." New Interpreter's Bible. Vol. 10. Ed. Leander E. Keck. Nashville: Abingdon, 2002. 369–391.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้