ตำบลหนองไผ่ (อำเภอหนองขาหย่าง)
หนองไผ่ เป็นตำบลในอำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี
ตำบลหนองไผ่ | |
---|---|
การถอดเสียงอักษรโรมัน | |
• อักษรโรมัน | Tambon Nong Phai |
ประเทศ | ไทย |
จังหวัด | อุทัยธานี |
อำเภอ | หนองขาหย่าง |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 48.18 ตร.กม. (18.60 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2566)[1] | |
• ทั้งหมด | 2,410 คน |
• ความหนาแน่น | 50.02 คน/ตร.กม. (129.6 คน/ตร.ไมล์) |
รหัสไปรษณีย์ | 61130 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 610502 |
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ | |
---|---|
พิกัด: 15°21′43.1″N 99°54′12.0″E / 15.361972°N 99.903333°E | |
ประเทศ | ไทย |
จังหวัด | อุทัยธานี |
อำเภอ | หนองขาหย่าง |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 48.18 ตร.กม. (18.60 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2566) | |
• ทั้งหมด | 2,410 คน |
• ความหนาแน่น | 50.02 คน/ตร.กม. (129.6 คน/ตร.ไมล์) |
รหัส อปท. | 06610505 |
ที่อยู่ที่ทำการ | เลขที่ 69 หมู่ที่ 4 ถนนอู่ทอง–ท่าน้ำอ้อย ตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี 61130 |
เว็บไซต์ | www |
ที่ตั้งและอาณาเขต
แก้ตำบลหนองไผ่มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลห้วยรอบและตำบลดอนกลอย (อำเภอหนองขาหย่าง)
- ทิศตะวันออก ติดต่อตำบลหนองขาหย่าง (อำเภอหนองขาหย่าง)
- ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลดงขวาง (อำเภอหนองขาหย่าง)
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลหนองนางนวล (อำเภอหนองฉาง)
ประวัติ
แก้หนองไผ่เป็นตำบลในอำเภอหนองพลวง จังหวัดอุทัยธานี ตั้งเป็นตำบลตั้งแต่ พ.ศ. 2443[2] เป็นตำบลหนึ่งที่ได้จัดตั้งมาเป็นเวลานาน ซึ่งแต่โบราณมีเจดีย์สมัยทวารวดี สร้างอยู่กลางสระน้ำ 50 ไร่ ปัจจุบันมีนกเป็ดน้ำอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ต่อมามีผู้คนอพยพมาตั้งบ้านเรือนเพิ่มมากขึ้นจนถึงทุกวันนี้
การแบ่งเขตการปกครอง
แก้การปกครองส่วนภูมิภาค
แก้พื้นที่ตำบลหนองไผ่ประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งสิ้นจำนวน 9 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 2,410 คน แบ่งเป็นชาย 1,141 คน หญิง 1,269 คน (เดือนธันวาคม 2566)[3] เป็นตำบลที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดอันดับ 3 จาก 9 ตำบลในอำเภอหนองขาหย่าง
- หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
- หมายถึงจำนวนประชากรได้คงเดิมเมื่อเทียบกับปีก่อน
- หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
* ปี พ.ศ. 2558 มีการรวมผู้ที่ไม่ได้สัญชาติไทยในทะเบียนราษฎร ส่งผลให้ข้อมูลจำนวนประชากรปีดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก
หมู่บ้าน | พ.ศ. 2566[4] | พ.ศ. 2565[5] | พ.ศ. 2564[6] | พ.ศ. 2563[7] | พ.ศ. 2562[8] | พ.ศ. 2561[9] | พ.ศ. 2560[10] |
---|---|---|---|---|---|---|---|
หนองปลาไหล | 354 | 357 | 350 | 351 | 354 | 355 | 349 |
หนองโสน | 353 | 362 | 362 | 367 | 375 | 369 | 372 |
ทุ่งน้ำเค็ม | 343 | 351 | 357 | 353 | 361 | 361 | 355 |
หนองสะแก | 334 | 337 | 335 | 328 | 333 | 331 | 331 |
หนองระแหงเหนือ (ม.5) | 260 | 258 | 259 | 260 | 259 | 268 | 269 |
หนองระแหงเหนือ (ม.6) | 258 | 256 | 257 | 257 | 258 | 259 | 271 |
หนองระแหงใต้ | 218 | 217 | 221 | 225 | 225 | 219 | 225 |
หนองไผ่ (ม.2) | 169 | 168 | 166 | 164 | 162 | 164 | 163 |
หนองไผ่ (ม.1) | 121 | 124 | 123 | 124 | 126 | 124 | 124 |
รวม | 2,410 | 2,430 | 2,430 | 2,429 | 2,453 | 2,450 | 2,459 |
การปกครองส่วนท้องถิ่น
แก้ปัจจุบันตำบลหนองไผ่ทั้งตำบลอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ ซึ่งเดิมมีฐานะเป็นสภาตำบลหนองไผ่ ในปี พ.ศ. 2517[11] ในปี พ.ศ. 2538–2540 สภาตำบลหนองไผ่มีประชากร 2,476 คน
ในปี พ.ศ. 2541 สภาตำบลหนองไผ่มี 9 หมู่บ้าน พื้นที่ 48.18 ตารางกิโลเมตร ประชากร 2,480 คน และ 611 ครัวเรือน[12] ปี พ.ศ. 2542 กระทรวงมหาดไทยจึงพิจารณาให้สภาตำบลหนองไผ่อยู่ในเงื่อนไขที่จะจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลได้ จึงได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่[13]
อ้างอิง
แก้- ↑ ประชากรในเขตท้องถิ่นตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี เดือนธันวาคม พ.ศ. 2566 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
- ↑ "ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ ในท้องที่มณฑลนครสวรรค์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 38 (0 ก): 576–583. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2565. สืบค้น 24 มกราคม 2565.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [2] 2565. สืบค้น 24 มกราคม 2565.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [3] 2564. สืบค้น 18 มีนาคม 2564.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [4] 2563. สืบค้น 10 มกราคม 2563.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/036/T_0032.PDF 2562. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2562.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/041/22.PDF 2561. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2561.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat59.htm 2560. สืบค้น 3 มีนาคม 2560.
- ↑ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm 2558. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2559.
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งสภาตำบลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๒๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 91 (87 ง): (ฉบับพิเศษ) 1–45. วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
- ↑ ประชากรรายตำบลในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 (เขตตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี) สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2567
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 82 ง): 3–38. วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542