ชุมพล ปัจจุสานนท์
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
พลเรือเอก ชุมพล ปัจจุสานนท์ (30 มิถุนายน พ.ศ. 2487- ) อดีตองคมนตรี และ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พลเรือตรีแชน - นางไพโรจน์ ปัจจุสานนท์ สมรสกับ พลตรีหญิงคุณหญิง ทรรศนีย์ ปัจจุสานนท์ มีบุตร 2 คน
ชุมพล ปัจจุสานนท์ | |
---|---|
องคมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 15 มีนาคม พ.ศ. 2548 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | |
ผู้บัญชาการทหารเรือ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547 | |
ก่อนหน้า | พลเรือเอก ทวีศักดิ์ โสมาภา |
ถัดไป | พลเรือเอก สามภพ อัมระปาล |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 กรุงเทพฯ ประเทศไทย |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | พลตรีหญิงคุณหญิง ทรรศนีย์ ปัจจุสานนท์ |
การศึกษา
แก้- โรงเรียนอัสสัมชัญ
- โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 3
- โรงเรียนนายเรือ รุ่นที่ 60 (2510)
- โรงเรียนชั้นต้นพรรคนาวิน
- โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือรุ่นที่ 39 (2521)
- วิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ 26 (2536)
- วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 (วปรอ. 4010) (2540)
ตำแหน่ง
แก้- ผู้บังคับการเรือหลวงตองปลิว
- ราชองครักษ์ประจำกรมราชองครักษ์
- ผู้บังคับการเรือหลวงตาปี
- เสนาธิการกองเรือลำน้ำ กองเรือยุทธการ
- รองผู้บัญชาการสถานีทหารเรือกรุงเทพ
- ผู้ช่วยหัวหน้านายทหาร ฝ่ายเสนาธิการ ประจำผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- ผู้บัญชาการกองเรือป้องกันฝั่งเขต 3
- ปลัดบัญชีทหารเรือ
- เสนาธิการทหารเรือ (2545)
- ผู้บัญชาการทหารเรือ (2546)
- กรรมการบริหารมูลนิธิอานันทมหิดล
ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2548[1]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
แก้- พ.ศ. 2545 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2542 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2550 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[3]
- พ.ศ. 2554 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)[4]
- พ.ศ. 2537 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้- เนเธอร์แลนด์ :
- พ.ศ. 2547 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์ออเรนจ์-นัสเซา ชั้นนายทัพ[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี (นายสันติ ทักราล และ พลเรือเอก ชุมพล ปัจจุสานนท์)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-09. สืบค้นเมื่อ 2011-08-23.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕) เก็บถาวร 2022-05-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เล่ม 119 ตอนที่ 21ข วันที่ 4 ธันวาคม 2545
- ↑ "ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (เนื่องในโอกาสพระราชพิธีฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ จำนวน ๑๒๒ ราย), เล่ม ๑๒๔, ตอน ๖ ข, ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐, หน้า ๑" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-12-21. สืบค้นเมื่อ 2011-05-03.
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี 2554
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา ,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 121, ตอนที่ 6 ข หน้า 3, 25 มีนาคม พ.ศ. 2547
ก่อนหน้า | ชุมพล ปัจจุสานนท์ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พลเรือเอก ทวีศักดิ์ โสมาภา | ผู้บัญชาการทหารเรือ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 - 30 กันยายน พ.ศ. 2547) |
พลเรือเอก สามภพ อัมระปาล |