กูเกิล+
เครือข่ายสังคม
(เปลี่ยนทางจาก กูเกิล พลัส)
กูเกิล+ (อังกฤษ: Google+; ออกเสียงและบางครั้งเขียนเป็น กูเกิลพลัส; บางครั้งเรียกเป็น จี+ (G+; จีพลัส)) เป็นเครือข่ายสังคมที่ครอบครองและดำเนินการโดยกูเกิล บริการนี้เริ่มดำเนินการในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 2011 เพื่อแข่งกับสื่อสังคมอื่น ๆ เชื่อมกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของกูเกิล เช่น กูเกิล ไดรฟ์ บล็อกเกอร์ และยูทูบ
ตราสัญลักษณ์สุดท้ายก่อนปิดตัวลงในปี ค.ศ. 2019 | |
ประเภท |
|
---|---|
ภาษาที่ใช้ได้ | หลายภาษา |
ก่อนหน้า |
|
เจ้าของ | กูเกิล |
สร้างโดย | |
ยูอาร์แอล | ที่เก็บเว็บไซต์ทางการ ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บ index) |
เชิงพาณิชย์ | ไม่มีแล้ว |
ลงทะเบียน | ต้องการ; ไม่มีแล้ว |
ผู้ใช้ | 200 ล้านคนa (ค.ศ. 2019) |
เปิดตัว | 28 มิถุนายน 2011[1] |
สถานะปัจจุบัน |
|
เขียนด้วย | จาวา จาวาสคริปต์[2] |
* a ผู้ใช้ที่ใช้งานอยู่[3] |
เนื่องจากผู้ใช้เข้ามามีส่วนร่วมต่ำ และมีการเปิดเผยข้อบกพร่องในการออกแบบซอฟต์แวร์ที่อาจอนุญาตให้นักพัฒนาภายนอกเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ได้[4] ทำให้ผู้พัฒนากูเกิล+ หยุดพัฒนาในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2019 และปิดบริการกูเกิล+ ลงทั้งด้านธุรกิจและส่วนตัวในวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 2019[5] ผู้ใช้ทั้งหมดในบริการนี้ก็ถูกย้ายเข้าไปใน"กูเกิลเคอร์เรนต์ส"[6]
ในวัฒนธรรมร่วมสมัย
แก้- ในภาพยนตร์ คู่ป่วนอินเทิร์นดูโอ ใน ค.ศ. 2013 มีการอ้างอิงกูเกิล+ หลายรูปแบบ[7]
- โคแนน โอไบรอัน[8] สตีเฟน โคลแบร์[9] และจิมมี แฟลลอน[10] พิธีกรทอล์กโชว์ชาวอเมริกันได้กล่าวถึงกูเกิล+ทั้งในสเก็ชและโมโนล็อก
- มีบุคคลหลายคนและองค์กรหลายแห่งใช้กูเกิล+ แฮงก์เอาต์ เช่น อดีตประธานาธิบดีสหรัฐ บารัก โอบามา[11] นาซา[12] สตีเวน สปีลเบิร์ก[13] เดอะแบล็กอายด์พีส์[14] ไทรา แบงส์[15] แพรีส ฮิลตัน[16] และสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส[17]
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "Introducing the Google+ project: Real-life sharing, rethought for the web". Official Google Blog.
- ↑ Joseph Smarr (2011). "I'm a technical lead on the Google+ team. Ask me anything". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 12, 2012. สืบค้นเมื่อ August 17, 2011.
- ↑ Bailey-Lauring, David (October 8, 2018). "Why You Should Stop Thinking Google+ Is Dead". blumint. สืบค้นเมื่อ July 21, 2019.
- ↑ "Project Strobe: Protecting your data, improving our third-party APIs, and sunsetting consumer Google+". October 8, 2018. สืบค้นเมื่อ February 21, 2019.
- ↑ Snider, Mike (February 1, 2019). "Google sets April 2 closing date for Google+, download your photos and content before then". USA Today. สืบค้นเมื่อ February 1, 2019.
- ↑ Stephanie MLot. "Google+ Consumer Accounts To Shutter April 2". Geek.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 3, 2019. สืบค้นเมื่อ September 3, 2019.
- ↑ Osmeloski, Elisabeth (February 13, 2013). "How Much Buzz Did 'The Internship" Movie Trailer Get During Google+ Hangout?". Marketing Land. สืบค้นเมื่อ December 14, 2016.
- ↑ "Conan to host Google Hangout". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-11. สืบค้นเมื่อ November 11, 2013.
- ↑ Stephen Colbert On YouTube Comments. YouTube (September 25, 2013). Retrieved on November 29, 2013.
- ↑ Grove, Jennifer Van (July 13, 2011). "Google+ Lampooned On Late Night With Jimmy Fallon [VIDEO]". Mashable. สืบค้นเมื่อ December 14, 2016.
- ↑ "Watch: President Obama Answers Your Questions in a Google+ Hangout". whitehouse.gov. February 14, 2013 – โดยทาง National Archives.
- ↑ "Media Invited to NASA Google+ Hangout on Wildfire and Climate Change". NASA. August 6, 2013.
- ↑ "Google+ Welcomes Spielberg's "Lincoln" – Eric Johnson – Media – AllThingsD". AllThingsD. August 13, 2012.
- ↑ Martin Bryant (August 30, 2011). "Will.I.Am's Google+ profile gets the ultimate promotion". The Next Web.
- ↑ Lauren Indvik (November 30, 2011). "Tyra Banks to Host Google+ Hangout". Mashable.
- ↑ Vaughan-Nichols, Steven (July 26, 2011). "Paradise Lost: Paris Hilton arrives on Google+". ZDNet.
- ↑ Kastrenakes, Jacob (February 3, 2015). "Pope Francis is holding a Google Hangout this week". The Verge. สืบค้นเมื่อ July 5, 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Google+
- ที่เก็บเว็บไซต์ทางการ ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บ index)