การบูร
การบูร เป็นของแข็งสีขาวขุ่นมีกลิ่นแรง[5] เป็นสารประกอบกลุ่มเทอร์พีนที่มีสูตรทางเคมีเป็น C10H16O พบได้จากต้นการบูร (Cinnamomum camphora)
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
1,7,7-Trimethylbicyclo[2.2.1]heptan-2-one
| |
ชื่ออื่น
2-Bornanone; Bornan-2-one; 2-Camphanone; Formosa
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
3DMet | |
1907611 | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ดรักแบงก์ | |
ECHA InfoCard | 100.000.860 |
EC Number |
|
83275 | |
KEGG | |
MeSH | Camphor |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII |
|
UN number | 2717 |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C10H16O | |
มวลโมเลกุล | 152.237 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ผลึกสีขาวหรือไม่มีสี |
กลิ่น | หอมและทะลุปรุโปร่ง |
ความหนาแน่น | 0.992 g·cm−3 |
จุดหลอมเหลว | 175–177 องศาเซลเซียส (347–351 องศาฟาเรนไฮต์; 448–450 เคลวิน) |
จุดเดือด | 209 องศาเซลเซียส (408 องศาฟาเรนไฮต์; 482 เคลวิน) |
1.2 g·dm−3 | |
ความสามารถละลายได้ ใน แอซีโทน | ~2500 g·dm−3 |
ความสามารถละลายได้ ใน กรดแอซิติก | ~2000 g·dm−3 |
ความสามารถละลายได้ ใน ไดเอทิลอีเทอร์ | ~2000 g·dm−3 |
ความสามารถละลายได้ ใน คลอโรฟอร์ม | ~1000 g·dm−3 |
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล | ~1000 g·dm−3 |
log P | 2.089 |
ความดันไอ | 4 mmHg (at 70 °C) |
Chiral rotation [α]D | +44.1° |
−103×10−6 cm3/mol | |
เภสัชวิทยา | |
C01EB02 (WHO) | |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
เตือน | |
H228, H302, H332, H371 | |
P210, P240, P241, P260, P261, P264, P270, P271, P280, P301+P312, P304+P312, P304+P340, P309+P311, P312, P330, P370+P378, P405, P501 | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | 54 องศาเซลเซียส (129 องศาฟาเรนไฮต์; 327 เคลวิน) |
466 องศาเซลเซียส (871 องศาฟาเรนไฮต์; 739 เคลวิน) | |
ขีดจำกัดการระเบิด | 0.6–3.5%[3] |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
1310 mg/kg (ปาก, หนู)[4] |
LDLo (lowest published)
|
800 mg/kg (สุนัข, ปาก) 2000 mg/kg (กระต่าย, ปาก)[4] |
LCLo (lowest published)
|
400 mg/m3 (หนู, 3 ชั่วโมง)[4] |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
TWA 2 mg/m3[3] |
REL (Recommended)
|
TWA 2 mg/m3[3] |
IDLH (Immediate danger)
|
200 mg/m3[3] |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
คีโทนที่เกี่ยวข้อง
|
Fenchone, Thujone |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
แคมฟีน, ไพนีน, พิมเสน, Camphorsulfonic acid |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
การบูรสังเคราะห์
แก้การบูรส่วนใหญ่ที่ขายในท้องตลาดนั้นเป็นการบูรสังเคราะห์ขึ้นจากน้ำมันสน[6]
อ้างอิง
แก้- ↑ The Merck Index, 7th edition, Merck & Co., Rahway, New Jersey, 1960
- ↑ Handbook of Chemistry and Physics, CRC Press, Ann Arbor, Michigan, USA
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0096". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Camphor (synthetic)". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH). 4 December 2014. สืบค้นเมื่อ 19 February 2015.
- ↑ Mann JC, Hobbs JB, Banthorpe DV, Harborne JB (1994). Natural products: their chemistry and biological significance. Harlow, Essex, England: Longman Scientific & Technical. pp. 309–11. ISBN 978-0-582-06009-8.
- ↑ "การบูร ไม้หอมมากประโยชน์ สร้างรายได้น่าลงทุน". kaset.today.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ การบูร
- INCHEM at IPCS (International Programme on Chemical Safety)
- NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards - Camphor at Centers for Disease Control and Prevention