กองทัพพม่า
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กองทัพพม่า หรือในชื่อภาษาพม่า ตะมะดอ (พม่า: တပ်မတော်, เอ็มแอลซีทีเอส: tap ma. taw, สัทอักษรสากล: [taʔmədɔ̀]) เป็นองค์กรทางการทหารของประเทศพม่า มีหน้าที่ป้องกันประเทศและรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กองทัพพม่าดำเนินการโดยกระทรวงกลาโหมโดยมีสาขากองทัพคือ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ และมีกองกำลังเสริมของกองทัพคือ ตำรวจ อาสาสมัครพลเรือน และกองกำลังชายแดนซึ่งรู้จักกันในชื่อว่า "นาซาคา" (Na Sa Kha)
กองทัพพม่า | |
---|---|
တပ်မတော် | |
![]() ธงกองทัพพม่า | |
เหล่า | ![]() ![]() ![]() |
กองบัญชาการ | เนปยีดอ |
ผู้บังคับบัญชา | |
ประธานาธิบดี | มหยิ่นซเว |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | พลเอก เมียทูนอู้ |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | พลเอกอาวุโส มี่นอองไลง์ |
กำลังพล | |
อายุเริ่มบรรจุ | 18 ปี |
ประชากร วัยบรรจุ | 14,747,845 ชาย, อายุ 15–49 (ประเมิน 2010), 14,710,871 หญิง, อายุ 15–49 (ประเมิน 2010) |
ประชากร ฉกรรจ์ | 10,451,515 ชาย, อายุ 15–49 (ประเมิน 2010), 11,181,537 หญิง, อายุ 15–49 (ประเมิน 2010) |
ประชากรวัยถึงขั้น ประจำการทุกปี | 522,478 ชาย (ประเมิน 2010), 506,388 หญิง (ประเมิน 2010) |
ยอดประจำการ | 406,000 (อันดับ 9) |
ยอดสำรอง | 72,000 (กำลังกึ่งทหาร) |
รายจ่าย | |
งบประมาณ | 2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[1] (2014) |
ร้อยละต่อจีดีพี | 4% (2014) |
อุตสาหกรรม | |
แหล่งผลิตในประเทศ | คาพาซออุตสาหกรรม (อุตสาหกรรมในกระทรวงกลาโหมพม่า) |
แหล่งผลิตนอกประเทศ | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
ประวัติ | ประวัติศาสตร์ทางทหารของพม่า กองทัพอาณาจักรพม่า |
ยศ | ยศทหารพม่า เครื่องอิสริยาภรณ์พม่า |
ที่นั่งรัฐสภา | |
---|---|
ที่นั่งในสภาชาติพันธุ์ | 56 / 224
|
ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรพม่า | 110 / 440
|
งบประมาณ แก้ไข
กองทัพพม่าได้รับงบประมาณร้อยละ 13 ถึง 14 ของงบประมาณแผ่นดิน[2] และตามกฎหมายเงินทุนพิเศษปี 2011 อนุญาตให้กองทัพสามารถจัดหางบพิเศษได้โดยไม่ต้องผ่านการตรวจสอบของรัฐสภา[3]
นอกจากนี้ กองทัพยังมีรายได้มหาศาลจากบริษัทขนาดใหญ่สองบริษัท คือ เมียนมาอีโคโนมิกโฮลดิงส์ จำกัด และบรรษัทเศรษฐกิจเมียนมาร์[4]
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ "Myanmar declares USD2.4 billion defence budget for 2014". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 October 2014. สืบค้นเมื่อ 29 November 2014.
- ↑ "Analysis | Tracking the Myanmar Govt's Income Sources and Spending". The Irrawaddy (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2019-10-22. สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.
- ↑ House, Freedom (2017-01-01). "Freedom in the World 2017 – Myanmar". Freedom House (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.
- ↑ "Economic interests of the Myanmar military". United Nations Human Rights Council. 2019-09-16. สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.