กฎบัตรสหประชาชาติ
กฎบัตรสหประชาชาติ (อังกฤษ: Charter of the United Nations) คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน[1] โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่าง ๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ
![]() กฎบัตร | |
วันร่าง | 14 สิงหาคม ค.ศ. 1941 |
---|---|
วันลงนาม | 26 มิถุนายน ค.ศ. 1945 |
ที่ลงนาม | ซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ |
วันมีผล | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 |
เงื่อนไข | ให้สัตยาบันโดยจีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐ และประเทศภาคีฝ่ายข้างมาก |
ภาคี | 193 |
ผู้เก็บรักษา | นานาชาติ |
ภาษา | อาหรับ, จีน, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย และสเปน |
![]() |
ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ซึ่งเป็นวันที่ประเทศจีน ประเทศฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่น ๆ ได้มีการให้สัตยาบันต่อกฎบัตรสหประชาชาติ โดยทุกประเทศที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด ยกเว้นเพียงแต่นครรัฐวาติกันที่เป็นประเทศผู้สังเกตการณ์ซึ่งเป็นข้อยกเว้น
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ "Introductory Note". Un.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2005. สืบค้นเมื่อ 9 February 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น แก้ไข
วิกิคำคมมีคำคมเกี่ยวกับ กฎบัตรสหประชาชาติ
- Full Text In the UN Website
- Scanned copy of the signed charter
- Original ratifications เก็บถาวร 2013-07-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Ratifications/admissions under Article IV เก็บถาวร 2014-04-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Alger Hiss recounts transporting the UN Charter after its signing.
- Procedural history note and audiovisual material on the Charter of the United Nations in the Historic Archives of the United Nations Audiovisual Library of International Law
- Declaration of Principles of International Law Concerning Friendly Relations and Cooperation Among States in Accordance with the Charter of the United Nations
- Lecture by Annebeth Rosenboom entitled Practical Aspects of Treaty Law: Treaty Registration under Article 102 of the Charter of the United Nations in the Lecture Series of the United Nations Audiovisual Library of International Law
- Christopher N.J. Roberts (June 2017). "William H. Fitzpatrick's Editorials on Human Rights (1949)". Quellen zur Geschichte der Menschenrechte [Sources on the History of Human Rights]. Human Rights Working Group in the 20th Century.