กระถิน

สปีชีส์ของพืช
(เปลี่ยนทางจาก Leucaena leucocephala)
กระถิน
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Fabales
วงศ์: Fabaceae
วงศ์ย่อย: Mimosoideae
เผ่า: Mimoseae
สกุล: Leucaena
สปีชีส์: L.  leucocephala
ชื่อทวินาม
Leucaena leucocephala
(Lam.) de Wit[1]
ชื่อพ้อง

Leucaena glauca (L.) Benth.[2]
Mimosa glauca L.
Acacia glauca Willd.

ฝักกระถิน

กระถิน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Leucaena leucocepphala; ใต้: สะตอเบา) เป็นไม้พุ่ม ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ผลเป็นฝักแบน ยอดอ่อน ช่อดอกและฝักอ่อน ชาวกะเหรี่ยงกินสดกับน้ำพริก เมล็ดในฝักแก่ กินสดหรือลวกกินกับน้ำพริก ใบต้มให้หมูกิน

การเป็นพืชรุกราน แก้

กระถิ่นเป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและขึ้นอย่างหนาแน่จนทำให้พืชท้องถิ่นไม่สามารถเจริญเติบโตได้และถูกเบียดออกไป[3]กระถินถูกพิจารณาให้เป็น1ใน 100 สายพันธ์รุกรานที่ร้ายแรงของโลกโดย คณะกรรมการความอยู่รอดของสปีชีส์ของ สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ ( the Invasive Species Specialist Group of the IUCN Species Survival Commission ) [2] ในไทยพบขึ้นเป็นบริเวณกว้างในพื้นที่เปิดโล่ง พื้นที่ป่าถูกทำลาย ตั้งแต่ความแห้งแล้งสูงจนถึงพื้นที่ชุ่มชื้น มักขึ้นคลุมเพียงชนิดเดียว พบได้ทุกภาคของประเทศ ระบาดปานกลาง ในจังหวัดกาญจนบุรี นครราชสีมา เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก และมีการระบาดน้อย ในจังหวัดราชบุรี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นครสวรรค์ กำแพงเพชร ตาก ลำปาง ลำพูน และเชียงใหม่ เป็นต้น[4]

อ้างอิง แก้

  1. "Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit". Germplasm Resources Information Network. United States Department of Agriculture. 1995-03-24. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-11. สืบค้นเมื่อ 2010-01-18.
  2. 2.0 2.1 "Leucaena leucocephala (tree)". Global Invasive Species Database. Invasive Species Specialist Group. สืบค้นเมื่อ 2010-01-18.
  3. "Leucaena leucocephala". สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "กระถินยักษ์". สำนักความหลากหลายทางชีวภาพ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในประเทศไทย ( IAS in Thailand ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-18. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  • ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ 2551 พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ที่ตำบลบ้านจันทร์และแจ่มหลวง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่271 หน้า ดูฉบับเต็ม เก็บถาวร 2021-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน