โคดี โรดส์
โคดี โรดส์ (Cody Rhodes) ชื่อจริง โคดี แกร์เรตต์ รันเนลส์ โรดส์ (Cody Garrett Runnels Rhodes)[9][10] เกิดวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1985 นักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นรุ่นที่2ของตระกูลโรดส์ ลูกชายของ"ดิอเมริกันดรีม" ดัสตี โรดส์ และน้องชายของโกลดัสต์
โคดี โรดส์ | |
---|---|
![]() | |
ชื่อเกิด | Cody Garrett Runnels[1] |
เกิด | 30 มิถุนายน ค.ศ. 1985 (35 ปี)[1] Marietta, Georgia, U.S.[2] |
ที่พัก | Los Angeles, California, U.S. |
คู่สมรส | Brandi Rhodes (แต่งปี 2013) |
ครอบครัว | Dusty Rhodes (father) Goldust (half-brother) Magnum T.A. (godfather) Fred Ottman (uncle) Jerry Sags (uncle) |
ประวัติมวยปล้ำอาชีพ | |
ชื่อบน สังเวียน | Cody[3] Cody R[4] Cody Rhodes[5] Cody Runnels[5] Stardust |
ส่วนสูง | 6 ฟุต 2 นิ้ว (1.88 เมตร)[6] |
น้ำหนัก | 216 lb (98 kg)[6][7] |
มาจาก | Charlotte, North Carolina The Fifth Dimension[7] Marietta, Georgia[8] Stars of the Milky Way |
ฝึกหัดโดย | Al Snow[2] Bruno Sassi[2] Dusty Rhodes[2] Glacier[2] |
เปิดตัว | 2006 |
มวยปล้ำสมัครเล่นแก้ไข
รันเนลส์มีโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จสูงมวยปล้ำอาชีพเข้าร่วมโรงเรียนลาสซิเตอร์สูงในจอร์เจีย[1] เขาวางไว้ที่หกใน 171 ปอนด์ (78 กิโลกรัม)[11] ในฐานะที่เป็นจูเนียร์ธาราชนะในการแข่งขันของรัฐจอร์เจีย 189 ปอนด์ (86 กิโลกรัม) ในปี 2003 และทำซ้ำในฐานะแชมป์ปีสุดท้ายของเขา[11] ธาราได้วางแผนที่จะต่อสู้วิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเพนซิลวาเนีย แต่ตัดสินใจที่จะกลายเป็นนักมวยปล้ำอาชีพแทน[12] ช่วงเวลาที่เขาอยู่ในโรงเรียนมัธยม, ธารายังทำหน้าที่เป็นผู้ตัดสินในของพ่อของเขาข้อต่อโปรโมชั่นชิงแชมป์มวยปล้ำ[13] หลังจากจบการศึกษาโรงเรียนมัธยมธาราเข้าโรงเรียนการแสดง[14]
มวยปล้ำอาชีพแก้ไข
โคดีเริ่มอาชีพมวยปล้ำในสมาคม OVW ปี 2006[15][16] และได้เป็นทั้งแชมป์เฮฟวี่เวท OVW[1][17], แชมป์เทเลวิชั่น OVW[1], แชมป์เซาต์เทิร์นแทกทีม OVW[18] และแชมป์ทริปเปิลคราวน์คนที่ 4 ของ OVW ก่อนจะเปิดตัวใน WWE ปี 2007[19] และได้รับรางวัลนักมวยปล้ำดาวรุ่งแห่งปี 2007 ได้คว้าแชมป์โลกแท็กทีมสมัยแรกคู่กับฮาร์ดคอร์ ฮอลลี[20] ในปี 2008 โคดีได้เปลี่ยนคู่แท็กทีมเป็นเท็ด ดีบีอาซี โดยการหักหลังฮอลลีและนำตำแหน่งไปให้เท็ดตั้งชื่อทีมว่าไพรซ์เลส (Priceless)[21][22] ในปี 2009 โคดีกับเท็ดก็ได้ไปร่วมทีมกับแรนดี ออร์ตันกลายเป็นเดอะเลกาซี (The Legacy)[23][24] ช่วงต้นปี 2010 กลุ่มเลกาซีได้มีปัญหากัน[25][26] ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26 กลุ่มเลกาซีเจอกันแบบสามเส้าโดยออร์ตันเป็นฝ่ายชนะยุติบทบาทกลุ่มลงหลังจากร่วมกลุ่มกันมายาวนานถึง 18 เดือน[27]
โคดีได้เปลี่ยนบทบาทใหม่โดยใช้ฉายา "แดชชิ่ง" โคดี โรดส์[28][29] ในไนท์ออฟแชมเปียนส์ (2010)ได้คว้าแชมป์แท็กทีม WWEร่วมกับดรูว์ แม็กอินไทร์ในชื่อทีม DashingOne[30][31][32] ก่อนจะเสียให้จอห์น ซีนาและเดวิด โอทังกาในแบรกกิ้ง ไรท์ส (2010)[33] จากการถูกเรย์ มิสเตริโอใส่ 619 จนดั้งหักในสแมคดาวน์เดือนมกราคมทำให้เขาถอนตัวจากรอยัลรัมเบิล (2011) รวมถึงอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2011)ที่ไม่ได้ลงแข่ง ทำให้โคดีแค้นและทำร้ายเรย์[34][35][36] ต่อมาดัสตี โรดส์ พ่อของโคดีออกมาบอกให้โคดีขอโทษเรย์แล้วโคดีก็ขอโทษ จากนั้นเมื่อเรย์จะเดินกลับดัสตีก็ดึงมือเรย์ไว้แล้วโคดีก็เล่นงานเรย์ จับอัดใส่มอนิเตอร์แล้วถอดหน้ากากของเรย์ออก ต่อมาโคดีได้ล้อเลียนเรย์โดยการเปิดเพลงทำท่าเลียนแบบรวมถึงใส่หน้ากากที่ดึงมาจากเรย์อีกด้วย แล้วพูดท้าทายว่าจะต้องเจอกันในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 สุดท้ายโคดีเป็นฝ่ายชนะ[37] ในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2011)ดีแพ้ให้เรย์แบบจับกดที่ไหนก็ได้[38] ในสแมคดาวน์ 12 สิงหาคม 2011 โคดีสามารถคว้าแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัลสมัยแรกได้จากอีซีคีล แจ็กสัน[39] โคดีได้เปิดศึกกับบิ๊กโชว์โดยดึงมือบิ๊กโชว์ทำให้ตกรอบในแบทเทิลรอยัลหาผู้ท้าชิงแชมป์ WWE จากนั้นโคดีได้ทำคลิปล้อเลียนบิ๊กโชว์ โดยเอาภาพที่น่าอับอายของบิ๊กโชว์ในเรสเซิลเมเนียแต่ละปีมาล้อเลียน ทำให้บิ๊กโชว์แค้นมากจึงได้ท้าชิงแชมป์อินเตอร์ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28และโคดีก็เสียแชมป์[40] แต่ก็คว้าคืนมาได้แบบใช้โต๊ะในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2012)[41] ก่อนจะเสียให้คริสเตียนในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012)[42]
ในรอว์ (24 กันยายน 2012) โคดีกับแดเมียน แซนดาวได้มาลอบทำร้ายแดเนียล ไบรอันกับเคน หลังจากที่ไบรอันกับเคนได้ตั้งชื่อทีมเฮลโน แล้วก็ประกาศว่าพวกเขาคือทีมโรดส์สกอลาส์[43] และได้ชิงแชมป์แท็กทีมกับเฮลโนในเฮลอินเอเซล (2012)แต่ไม่สำเร็จ[44] ในมันนีอินเดอะแบงก์ (2013)โคดีได้ถูกแซนดาวหักหลังแย่งกระเป๋าสิทธิ์ชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวทไป ทำให้ทั้งคู่เป็นศัตรูกัน และโคดีได้กลายมาเป็นฝ่ายธรรมะ[45] ในสแมคดาวน์ (26 กรกฎาคม 2013) โคดีออกมาขโมยกระเป๋าของแซนดาว ก่อนที่โคดีโผล่มาทางจอยักษ์แล้วเอากระเป๋ามาล่อให้แซนดาวออกไปไล่จับโคดีที่นอกสนาม แต่โคดีก็โยนกระเป๋าลงทะเล แซนดาวว่ายน้ำไม่เป็นแต่ก็กระโดดลงน้ำไป สุดท้ายก็เก็บมาไม่ได้ กระเป๋าจมหายไปในทะเล ส่วนแซนดาวตะเกียกตะกายขึ้นฝั่งมา[46] ในรอว์ (5 สิงหาคม 2013) โคดีออกมาพร้อมกับกล่องใบหนึ่ง แล้วก็ล้วงเอากระเป๋าของแซนดาวที่ยังเปียกๆ และมีสาหร่ายติดอยู่ด้วย โคดีบอกแซนดาวว่าถ้าอยากได้ก็ออกมาเอาสิ แซนดาวออกมาแล้วก็อัดกันไปมาก่อนถูกโคดีถีบตกเวที โคดีเปิดกระเป๋าออกมาแล้วก็หยิบสัญญาชิงแชมป์ที่เปียกโชกออกมาเยาะเย้ย[47] ในสแมคดาวน์ (9 สิงหาคม 2013) แซนดาววิ่งออกมาพร้อมกับกระเป๋าใบใหม่เพื่อจะชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวทกับอัลเบร์โต เดล รีโอ แต่โคดีมากระโดดถีบและต่อด้วย CrossRhodes[48] ในซัมเมอร์สแลม (2013)โคดีเอาชนะแซนดาวไปได้จบเรื่องราว[49]
ในรอว์ (2 กันยายน 2013) หลังจากที่แพ้แรนดี ออร์ตันนั้นส่งผลให้โคดีต้องถูกไล่ออกจาก WWE โดยคำสั่งของทริปเปิลเอช ประธาน COO[50] ซึ่งแท้จริงแล้วโคดีกำลังเตรียมตัวเข้าพิธีแต่งงานและไปฮันนีมูนกับแฟนสาวอย่าง แบรนดี รีด จึงสร้างเรื่องราวให้เขาถูกไล่ออกตามบท[51] ในรอว์ (30 กันยายน 2013) ทริปเปิลเอชกับสเตฟานี แม็กแมนออกมาที่เวทีและก็เชิญครอบครัวโรดส์ (ดัสตี, โคดี และโกลดัสต์) ให้ออกมาคุยกัน ทริปเปิลเอชบอกว่าเราให้โอกาสพวกนายแล้ว ให้โคดีเจอกับแรนดี ออร์ตันเพื่อรักษางานของโคดีแต่ก็แพ้ จากนั้นเราก็ให้โอกาสอีก ให้โกลดัสต์เจอกับออร์ตันแล้วก็แพ้อีก จากนั้นสเตฟานีก็ให้ดัสตีเลือกว่าจะให้ลูกคนไหนกลับเข้าทำงานแต่เขากลับบอกให้สเตฟานีไปลงนรกซะ ทริปเปิลเอชบอกจะให้โอกาสอีกครั้งให้โคดีกับโกลดัสต์เจอกับเซท รอลลินส์และโรแมน เรนส์ในแบทเทิลกราวด์ ถ้าชนะได้ก็จะให้กลับเข้าทำงานทั้งสองคน แต่ถ้าแพ้ทั้งคู่ก็จะไม่มีวันได้กลับมา WWE อีกตลอดกาล และดัสตีจะถูกไล่ออกจากตำแหน่งเทรนเนอร์ NXT ด้วย ดัสตีขอต่อรองว่าจะอยู่ที่มุมเวทีของลูกๆด้วย ซึ่งสเตฟานีก็ตกลง ครอบครัวโรดส์กำลังเดินกลับแต่ก็โดนเดอะชีลด์ ขึ้นมากระทืบจนนอนกองกันทุกคน ในแบทเทิลกราวด์โคดีและโกลดัสต์เป็นฝ่ายเอาชนะเดอะชีลด์ได้ทำให้ครอบครัวโรดส์ได้กลับมาทำงานใน WWE อีกครั้ง[52]
ในรอว์ (14 ตุลาคม 2013) โคดีและโกลดัสต์ได้คว้าแชมป์แท็กทีมจากรอลลินส์และเรนส์โดยการช่วยเหลือของบิ๊กโชว์[53] ในรอยัลรัมเบิล (2014)เสียแชมป์ให้เดอะนิวเอจเอาต์ลอวส์ (โรด ด็อกและบิลลี กัน) คืนเดียวกันโคดีได้เข้าร่วมรอยัลรัมเบิลออกมาเป็นลำดับที่4 แต่ไม่ได้เป็นผู้ชนะ ในรอว์ (3 กุมภาพันธ์ 2014) โคดีและโกลดัสต์ได้ชิงแชมป์กับนิวเอจเอาต์ลอวส์ในกรงเหล็ก แต่ก็ไม่สามารถคว้าแชมป์คืนได้[54] ในเพย์แบ็ค (2014) หลังจากโคดีและโกลดัสต์แพ้แมตช์แท็กทีม โคดีบอกให้โกลดัสต์ไปหาคู่แท็กทีมใหม่ ในรอว์ (16 มิถุนายน 2014) โคดีได้เปิดตัวในบทบาทใหม่ในนามสตาร์ดัสต์จับคู่กับโกลดัสต์[55] ในรอว์ (25 สิงหาคม 2014) โกลด์และสตาร์ดัสต์ได้เป็นฝ่ายอธรรมโดยเล่นงานดิอูโซส์ หลังจากไม่สามารถคว้าแชมป์แท็กทีมได้ ทำให้ทั้งคู่ไม่พอใจ ในไนท์ออฟแชมเปียนส์ (2014) โกลด์และสตาร์ดัสต์คว้าแชมป์แท็กทีมจากอูโซส์ได้สำเร็จ[56] ก่อนจะเสียแชมป์ให้เดอะมิซและแดเมียน มิซดาวในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2014) ต่อมาได้ทะเลาะกับโกลดัสต์และเจอกันในฟาสต์เลน (2015)แต่สตาร์ดัสต์เป็นฝ่ายแพ้ ต่อมาได้มีเรื่องกับสตีเฟน อาเมล นักแสดงซีรีส์เรื่อง Arrow ทำให้เจอกันแบบแท็กทีมในซัมเมอร์สแลม (2015)โดยสตาร์ดัสต์จับคู่กับคิง บาร์เร็ตต์ แพ้ให้อาเมลจับคู่กับเนวิลล์[57] เขาได้ลาออกจาก WWE ในเดือนพฤษภาคม 2016[58][59][60][61][62][63]
หลังออกจาก WWE โคดีได้เซ็นสัญญาปล้ำให้กับสมาคมอิสระทั่วไป[64][65][66][67][4][68] วันที่ 19 กรกฎาคม 2016 โคดีได้เซ็นสัญญากับริงออฟออเนอร์(ROH)[69] และเซ็นสัญญาสั้นๆกับTNA[70][5] วันที่ 10 ธันวาคม 2016 โคดีได้ร่วมปล้ำกับนิวเจแปนโปรเรสต์ลิง(NJPW) และใช้ฉายา "The American Nightmare"[71][72] ปี 2017 โคดีได้คว้าแชมป์โลก ROHสมัยแรกจากคริสโตเฟอร์ แดเนียลส์และเป็นแชมป์โลกเส้นแรกในอาชีพของเขา[73] วันที่ 1 กันยายน 2018 โคดีกับ The Young Bucks ได้ร่วมกันเป็นเจ้าภาพจัดรายการเพย์เพอร์วิวศึก All In[74][75] และโคดีได้คว้าแชมป์โลกเฮฟวี่เวท NWAเป็นสมัยแรกจาก Nick Aldis ทำให้โคดีกับพ่อของเขา ดัสตี โรดส์ เป็นพ่อลูกคู่แรกที่ได้แชมป์โลก NWA[76] ในศึก Fighting Spirit Unleashed ของ NJPW โคดีก็ได้คว้าแชมป์ IWGP United States Championship จาก Juice Robinson เป็นแชมป์เส้นแรกในสมาคม NJPW[77] ในวันที่ 1 มกราคม 2019 โคดีได้เปิดตัวสมาคมใหม่ All Elite Wrestling ซึ่งเขาร่วมกับ Matt และ Nick Jackson จะดำรงตำแหน่งรองประธานบริหาร[78]
สื่ออื่นๆแก้ไข
ในเดือนกรกฎาคม 2009 โรดส์กลายเป็นหนึ่งในใบหน้าของยิลเลตต์ "Be a Superstar" แคมเปญโฆษณาพร้อมกับคริส เจริโคและจอห์น ซีนา[79][80] "Be a Superstar" เป็นแคมเปญแบบโต้ตอบสี่เดือนยาว ซึ่งเป็นจุดเด่นของนักมวยปล้ำในวิดีโอจำนวนมากการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ยิลเลตต์ฟิวชั่น[79] ในเดือนสิงหาคม 2009 โรดส์ได้ไปร่วมรายการ The Tonight Show with Conan O'Brien[81]
ชีวิตส่วนตัวแก้ไข
รันเนลส์ เป็นลูกชายของ "ดิอเมริกันดรีม" ดัสตี โรดส์ และน้องชายของดัสติน โรดส์ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในนาม โกลดัสต์ นอกจากนี้เขายังมีน้องสาวสองคน, ส่วนที่ Gergel และคริสตินเช่นเดียวกันซึ่งเป็นอดีตดัลลัสเคาบอยเชียร์ลีดเดอร์[82]
ในเดือนกันยายนปี 2013 เขาแต่งงานกับแบรนดี รีด ที่ทำงานให้กับ WWE เป็นผู้ประกาศภายใต้ชื่อ อีเดน สไตส์[83] เขามีเชื้อสายคิวบาบางส่วนผ่านตาทวดของเขา[84] ที่ 31 มีนาคมปี 2007 เขาและดัสตินพี่ชายแต่งตั้งให้พ่อของพวกเขาในหอเกียรติยศ WWE[85] เขาเป็นหลานชายของอดีตนักมวยปล้ำมืออาชีพเจอร์รี่โดและเฟร็ด Ottman และลูกบุญธรรมของแม็กนั่ม ทีเอ
รองเท้ามวยปล้ำที่โดดเด่นเป็นสัญลักษณ์ Triforce จากตำนาน Zelda ชุดของวิดีโอเกมที่เขาเป็นแฟน; เขาได้กล่าวว่าเขาไกล Link ที่ผ่านมารายปี[14][86] ธารายังเป็นแฟนหนังสือการ์ตูนและได้สวมใส่เกียร์มวยปล้ำแรงบันดาลใจจากเทวทูตและนายอุบาทว์ตัวละครจาก X-Men[87] เขาอ้างอิงปลายแดง และไซคลอปส์เป็นตัวละครที่เขาชื่นชอบพร้อมกับ Inhumans ส่วนตัวเขาเป็นเจ้าของตู้เกม 1992 X-Men เกมอาเขต[87]
ผลงานอื่นๆแก้ไข
Year | Title | Role | Notes |
---|---|---|---|
2016 | Scooby-Doo! and WWE: Curse of the Speed Demon | Stardust | |
2017 | The Jetsons & WWE: Robo-WrestleMania! |
Year | Title | Role | Notes |
---|---|---|---|
2009 | The Tonight Show with Conan O'Brien | Himself | Episode: "Mike Tyson and Keith Berry" |
2010 | Warehouse 13 | Kurt Smoller | Season 2, episode 8: "Merge with Caution"[88] |
2011 | Food Network Challenge | Himself | Season 12, episode 11: "WWE Wrestling Cakes" |
2014 | Surprise Surprise | Episode: "Mothers Day Edition" | |
2016–2017 | Arrow[89] | Derek Sampson[90] | 2 Episodes Credited as Cody Runnels |
2018 | WAGS Atlanta | Himself |
Year | Title | Role | Notes |
---|---|---|---|
2013–2015 | The JBL and Cole/Renee Show | Himself, Stardust | Series regular |
2015–2016 | Swerved | Himself, Stardust | Two episodes |
2016–present | Being The Elite[91] | Himself | Series regular |
แชมป์และรางวัลแก้ไข
มวยปล้ำสมัครเล่นแก้ไข
- Georgia State Tournament
- Champion at 189 ปอนด์ (86 กิโลกรัม) weight class (2003, 2004)[1]
มวยปล้ำอาชีพแก้ไข
- All Elite Wrestling
- Alpha-1 Wrestling
- A1 Tag Team Championship (1 time) – with Ethan Page[94]
- Bullet Proof Wrestling
- BPW Championship (1 time)[95]
- CBS Sports
- Promo of the Year (2019) – "Silver spoon" promo on AEW Dynamite[96]
- Smack Talker of the Year (2019)[96]
- Global Force Wrestling
- National Wrestling Alliance
- New Japan Pro-Wrestling
- Northeast Wrestling
- Ohio Valley Wrestling
- Pro Wrestling Illustrated
- Match of the Year (2019) – vs. Dustin Rhodes at Double or Nothing[102][103]
- Most Improved Wrestler of the Year (2008)[104]
- Ranked No. 7 of the top 500 singles wrestlers in the PWI 500 in 2020[105]
- Ring of Honor
- ROH World Championship (1 time)[73]
- ROH World Six-Man Tag Team Championship (1 time) – with The Young Bucks
- Wrestler of the Year (2017)[106]
- Feud of the Year (2018) – vs. Kenny Omega[107]
- Sports Illustrated
- Wrestler of the Year (2018)[108]
- What Culture Pro Wrestling
- WCPW Internet Championship (1 time)[109]
- World Wrestling Entertainment/WWE
- WWE Intercontinental Championship (2 times)[110][111]
- WWE Tag Team Championship (3 times) – with Drew McIntyre (1) and Goldust (2)[112][113]
- World Tag Team Championship (3 times) – with Hardcore Holly (1) and Ted DiBiase (2)[20][21][22]
- Slammy Award (2 times)
- Wrestling Observer Newsletter
- Worst Gimmick (2015) as Stardust[116]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 Elliott, Brian. "Cody Rhodes". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ June 23, 2009.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Stardust". Online World of Wrestling. สืบค้นเมื่อ October 18, 2007.
- ↑ "Cody". Ring of Honor. สืบค้นเมื่อ July 15, 2017.
- ↑ 4.0 4.1 "2016 Battle of Los Angeles – Stage Two". Pro Wrestling Guerrilla. สืบค้นเมื่อ September 9, 2016.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Currier, Joseph (September 22, 2016). "Cody Rhodes to make TNA debut at Bound for Glory". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ September 23, 2016.
- ↑ 6.0 6.1 "Cody" (ภาษาญี่ปุ่น). New Japan Pro-Wrestling. สืบค้นเมื่อ September 29, 2017.
- ↑ 7.0 7.1 "Stardust". WWE. สืบค้นเมื่อ April 27, 2010.
- ↑ "Cody Rhodes bio". WWE. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ June 6, 2014. สืบค้นเมื่อ August 28, 2015.
- ↑ codyrhodes (February 2, 2018). "My legal last name is runnels rhodes...both. Do your research fuckface. (Been that way since I was 15)" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ "Cody Rhodes is making more money since leaving WWE, advice from his father and Goldust, Bullet Club". สืบค้นเมื่อ November 15, 2017 – โดยทาง YouTube.
It is literally my legal name, like on my I.D., my name hasn't been Cody Runnels since I was 17.
- ↑ 11.0 11.1 "Lassiter High School Wrestling Wall of Fame". Lassiter High School. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ October 6, 2007. สืบค้นเมื่อ October 29, 2007.
- ↑ Matsumoto, Jon (June 25, 2009). "WWE: Ted DiBiase, Cody Rhodes, Randy Orton wrestle at HP Pavilion Monday". San Jose Mercury News. สืบค้นเมื่อ July 6, 2009.
- ↑ Baines, Tim (August 7, 2009). "Rhodes bringing real Legacy to Calgary". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ August 8, 2009.
- ↑ 14.0 14.1 Robinson, Jon (April 13, 2009). "Cody Rhodes: Link to the Past". ESPN. สืบค้นเมื่อ April 15, 2009.
- ↑ "Ohio Valley Wrestling – November 08, 2006". Online World of Wrestling. November 8, 2006. สืบค้นเมื่อ March 17, 2008.
- ↑ "Ohio Valley Wrestling – November 22, 2006". Online World of Wrestling. November 22, 2006. สืบค้นเมื่อ June 23, 2009.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 "OVW Heavyweight Championship". Ohio Valley Wrestling. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ April 5, 2011. สืบค้นเมื่อ April 3, 2011.
- ↑ 18.0 18.1 18.2 "OVW Southern Tag Team Championship". Ohio Valley Wrestling. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ April 5, 2011. สืบค้นเมื่อ April 3, 2011.
- ↑ Plummer, Dale (July 3, 2007). "Raw: Lashley rises to No. 1". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ July 6, 2009.
- ↑ 20.0 20.1 "World Tag Team Championship – Cody Rhodes & Hardcore Holly". WWE. December 10, 2007. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ December 27, 2007. สืบค้นเมื่อ March 6, 2009. Unknown parameter
|deadurl=
ignored (help) - ↑ 21.0 21.1 "World Tag Team Championship – Ted DiBiase & Cody Rhodes". WWE. June 29, 2008. สืบค้นเมื่อ December 19, 2008.
- ↑ 22.0 22.1 "World Tag Team Championship – Ted DiBiase & Cody Rhodes". WWE. August 11, 2008. สืบค้นเมื่อ August 13, 2008.
- ↑ Sitterson, Aubrey (December 8, 2008). "Slam, bam, thank you ma'am!". WWE. สืบค้นเมื่อ December 30, 2008.
- ↑ Bishop, Matt (December 8, 2008). "Raw: A night of Slammys, solid matches". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ December 30, 2008.
- ↑ Plummer, Dale (February 22, 2010). "Raw: Finding a Jewel on the Road to Wrestlemania". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ March 3, 2010.
- ↑ Plummer, Dale (March 1, 2010). "Raw: A bad trip on the Road to Wrestlemania". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ March 3, 2010.
- ↑ Martin, Adam (March 28, 2010). "Wrestlemania 26 Results – 3/28/10". WrestleView. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ April 1, 2010. สืบค้นเมื่อ March 29, 2010. Unknown parameter
|deadurl=
ignored (help) - ↑ Hillhouse, Dave (July 24, 2010). "Smackdown: On Removing Masks & Nose Hairs". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ August 17, 2010.
- ↑ Hillhouse, Dave (August 7, 2010). "Smackdown: The search for vengeance and championships". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ August 17, 2010.
- ↑ Caldwell, James (November 21, 2010). "Caldwell's WWE Survivor Series PPV results 11/21: Complete "virtual time" coverage of live PPV – Cena's decision, six title matches". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ June 4, 2011.
- ↑ Parks, Greg (November 19, 2010). "Parks' WWE SmackDown report 11/19: Ongoing "virtual time" coverage of the show, including Mysterio vs. Del Rio". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ June 4, 2011.
- ↑ Tylwalk, Nick (September 20, 2010). "Few gimmicks, more title changes at Night of Champions". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ September 20, 2010.
- ↑ Caldwell, James (October 24, 2010). "Caldwell's WWE Bragging Rights PPV Results 10/24: Ongoing "virtual time" coverage of live PPV – Orton vs. Barrett, Kane vs. Taker, Raw vs. Smackdown". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ October 25, 2010.
- ↑ Hillhouse, Dave (January 22, 2011). "Smackdown: Run, Edge, run!". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
- ↑ Singh, Singh (April 26, 2011). "Fightin' Fanboys: The Fall of Cody Rhodes". Marvel Entertainment. สืบค้นเมื่อ May 2, 2011.
- ↑ Hillhouse, Dave (February 26, 2011). "Smackdown: Some water is thicker than blood". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ March 5, 2011.
- ↑ Bishop, Matt (April 3, 2011). "The Rock costs Cena as The Miz retains at WrestleMania XXVII". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ April 4, 2011.
- ↑ Hillhouse, Dave (May 1, 2011). "Extreme Rules: Championship make-over edition". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ May 2, 2011.
- ↑ "WWE News: Smackdown spoilers 8/12 – Results & Notes from Tuesday's Smackdown TV taping leading to Summerslam". Pro Wrestling Torch. August 10, 2011. สืบค้นเมื่อ August 10, 2011.
- ↑ Caldwell, James. "CALDWELL'S WWE WRESTLEMANIA 28 PPV REPORT 4/1: Ongoing "virtual time" coverage of live PPV - Rock-Cena, Taker-Hunter, Punk-Jericho". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 2 April 2012.
- ↑ Caldwell, James (29 April 2012). "Caldwell's WWE Extreme Rules PPV Report 4/29: Ongoing "virtual time" coverage of live PPV - Brock-Cena, Punk-Jericho in Chicago". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 30 April 2012.
- ↑ Giannini, Alex (20 May 2012). "Christian def. Intercontinental Champion Cody Rhodes". WWE. สืบค้นเมื่อ 21 May 2012.
- ↑ Caldwell, James. "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 9/24: Complete "virtual-time" coverage of live Raw - Cena announcement, Lawler interview, latest on WWE Title picture". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 30 September 2012.
- ↑ "Team Rhodes Scholars def. Hell No! By Disqualification". WWE. October 28, 2012. สืบค้นเมื่อ November 2, 2012.
- ↑ "CALDWELL'S WWE MITB PPV RESULTS 7/14 (Hour 1): Complete "virtual-time" coverage of World Title MITB ladder match, IC Title match, Divas Title match".
- ↑ "PARKS'S WWE SMACKDOWN REPORT 7/26: Ongoing "virtual time" coverage of Friday show, including Wyatt Family in-ring debut, Del Rio vs. RVD match".
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 8/5 (Hour 1): Bryan's "corporate make-over" kicks off Raw, Del Rio vs. RVD match, Ricardo returns & written off, Henry-Ryback match".
- ↑ "PARKS'S WWE SMACKDOWN REPORT 8/9: Ongoing "virtual time" coverage of Friday show, including Randy Orton vs. Rob Van Dam and an appearance by Brock Lesnar".
- ↑ "CALDWELL'S WWE SSLAM PPV RESULTS 8/18 (Hour 1): Ongoing "virtual-time" coverage of live PPV - World Title match, Ring of Fire match, clean-shaven Rhodes vs. Sandow, more".
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 9/2 (Hour 2): Orton vs. Rhodes career-threatening match, Prime Time Players, more".
- ↑ Francis, Nathan Cody Rhodes: WWE Star Getting Married, Taking A Break From The Ring The Inquisitor, September 3, 2013. Retrieved September 3, 2013.
- ↑ Asher, Matthew. "Battle may be over but WWE Battleground still leaves unresolved issues". SLAM! Wrestling. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ November 1, 2013.
- ↑ Trionfo, Richard. "WWE RAW REPORT: HAS THE CEREBRAL ASSASSIN BEEN OUTSMARTED?; ORTON UPS THE ANTE; STIPULATION FOR PUNK VS. RYBACK; AND MORE". PWInsider. สืบค้นเมื่อ October 16, 2013.
- ↑ "Cody Rhodes & Goldust vs. The New Age Outlaws - WWE Tag Title Steel Cage Match: Raw, Feb. 3, 2014", from WWE's channel ที่ยูทูบ
- ↑ http://www.wwe.com/shows/raw/2014-06-16/wwe-raw-results-26400632/page-9
- ↑ Caldwell, James (August 25, 2014). "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 8/25: Complete "virtual-time" coverage of Cena's Return, plus Hogan & Flair & HBK Forum, re-matches, re-matches, and more re-matches". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ August 25, 2014.
- ↑ Caldwell, James (August 23, 2015). "Caldwell's SummerSlam report 8/23: Ongoing "virtual-time" coverage of Lesnar vs. Taker, Title vs. Title, more big matches". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ August 23, 2015.
- ↑ Runnels, Cody. "(1/2) The past ten years have been quite the trek, but as of earlier today I have asked for my release from @WWE". twitter.com.
- ↑ "Cody Rhodes released". WWE. สืบค้นเมื่อ May 22, 2016.
- ↑ Runnels, Cody. "My one&only statement on the matter. No podcasts or tell-all nonsense. Thank you friends. (Part 1)". สืบค้นเมื่อ 23 May 2016.
- ↑ Runnels, Cody. "My one&only statement on the matter. No podcasts or tell-all nonsense. Thank you friends. (Part 2)". สืบค้นเมื่อ 23 May 2016.
- ↑ Caldwell, James (May 23, 2016). "Cody Rhodes Statement on WWE exit – why he left, the Moment of Clarity, broken Creative system, last conversation with Triple H, honoring Dusty, what's next?". pwtorch. สืบค้นเมื่อ May 23, 2010.
- ↑ "Cody Rhodes addresses his departure from WWE and his future". prowrestling.net. May 23, 2016. สืบค้นเมื่อ May 23, 2010.
- ↑ "Cody Rhodes to Wrestle at Evolve 66". 411MANIA. June 3, 2016. สืบค้นเมื่อ January 27, 2017.
- ↑ "Recent Undertaker Photo, Anniversary Of Dusty Rhodes' Passing, Cody Rhodes EVOLVE Opponent Revealed?". WrestlingInc.com. June 10, 2016. สืบค้นเมื่อ January 27, 2017.
- ↑ "Cody Rhodes Set For More EVOLVE Shows". 411MANIA. June 6, 2016. สืบค้นเมื่อ January 27, 2017.
- ↑ Caldwell, James (June 6, 2016). "Cody Rhodes booked for PWG's Battle of Los Angeles tournament". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ June 19, 2016.
- ↑ Meltzer, Dave (September 4, 2016). "PWG Battle of Los Angeles night two results: A phenomenal night of action". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ September 4, 2016.
- ↑ Caldwell, James (July 20, 2016). "Official Announcement – Cody Rhodes to ROH's Final Battle PPV". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ September 4, 2016.
- ↑ Nason, Josh (September 5, 2016). "Cody Rhodes' wrestling future to include both TNA & ROH". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ September 5, 2016.
- ↑ 戦国炎舞 -Kizna- Presents World Tag League 2016. New Japan Pro Wrestling (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ December 10, 2016.
- ↑ Meltzer, Dave (December 9, 2016). "NJPW World Tag League finals live results: The winners are crowned". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ December 10, 2016.
- ↑ 73.0 73.1 Meltzer, Dave; Currier, Joseph (June 23, 2017). "ROH Best in the World live results: Christopher Daniels vs. Cody". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ June 23, 2017.
- ↑ "All In (@ALL_IN_2018) | Twitter". twitter.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-05-13.
- ↑ "All In tickets sell out almost immediately after going on sale". WON/F4W - WWE news, Pro Wrestling News, WWE Results, UFC News, UFC results (ภาษาอังกฤษ). 2018-05-13. สืบค้นเมื่อ 2018-05-13.
- ↑ https://bleacherreport.com/articles/2792041-cody-rhodes-beats-nick-aldis-wins-nwa-worlds-heavyweight-title-at-all-in
- ↑ "WHERE AEW TALENTS STAND WITH NEW JAPAN PRO WRESTLING - PWInsider.com". pwinsider.com. สืบค้นเมื่อ February 19, 2019.
- ↑ Lambert, Jeremy (January 8, 2019). "Report: Cody And Young Bucks Have Five-Year Deals With AEW". Fightful. สืบค้นเมื่อ February 10, 2019.
- ↑ 79.0 79.1 Lee, Richard (November 25, 2009). "WWE, Gillette team up in ring". Connecticut Post. สืบค้นเมื่อ December 14, 2010.
- ↑ "Excitement builds over Gillette Fusion's interactive campaign with WWE Superstars". WWE. July 27, 2009. สืบค้นเมื่อ August 31, 2009.
- ↑ Martin, Adam (August 27, 2009). "WWE stars on "The Tonight Show"". WrestleView. สืบค้นเมื่อ August 31, 2009.
- ↑ "Kickin' It Up With... Kristin Ditto". Dallas Cowboys Cheerleaders. สืบค้นเมื่อ June 27, 2009.
- ↑ Ocal, Arda. "WWE's Daniel Bryan and Brie Bella get engaged". The Baltimore Sun. สืบค้นเมื่อ December 2, 2013.
- ↑ "Dusty: Reflections of Wrestling's American Dream". 20 November 2013. สืบค้นเมื่อ 14 June 2015.
- ↑ McCoy, Dave (June 11, 2015). "WWE Hall of Fame Wrestler Dusty Rhodes Dies at 69". The Hollywood Reporter. สืบค้นเมื่อ August 28, 2015.
- ↑ Christensen, Matt (July 2008). "What's in Your Travel Bag?". WWE Magazine. p. 49.
- ↑ 87.0 87.1 Singh, Arune (June 30, 2009). "Fightin' Fanboys: WWE Superstar Cody Rhodes". Marvel Entertainment. สืบค้นเมื่อ July 6, 2009.
- ↑ "Rhodes to appear on SyFy's Warehouse 13". May 26, 2010.
- ↑ Matt Fowler (July 2, 2016). "Arrow: Cody Rhodes to Guest in Season 5". IGN.
- ↑ Johnson, Mike (October 4, 2016). "Official details for Cody Rhodes on 'Arrow'". Pro Wrestling Insider. สืบค้นเมื่อ October 4, 2016.
- ↑ "Being The Elite". YouTube. สืบค้นเมื่อ January 13, 2018.
- ↑ "AEW TNT Championship". All Elite Wrestling. สืบค้นเมื่อ May 23, 2020.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (May 23, 2020). "AEW TNT Title Tournament". Cagematch.net. สืบค้นเมื่อ September 3, 2020.
- ↑ "A1 Tag Team Championship « Titles Database « CAGEMATCH - The Internet Wrestling Database". cagematch.net.
- ↑ Bullet Proof Dojo [bulletproofdojo] (April 23, 2017). "We crowned new champions tonight...Donovan Dijak claimed the Wrestlemerica Title & Cody Rhodes became the first eve…" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ 96.0 96.1 Campbell, Brian (December 24, 2019). "How Adam Cole went from main event substitute to clear choice for 2019 Wrestler of the Year". CBS Sports. สืบค้นเมื่อ December 24, 2019.
- ↑ "Daily Update: UFC Fight Night 101, D. Bryan responds to Cesaro, Dykstra fired". Wrestling Observer Newsletter. November 26, 2016. สืบค้นเมื่อ November 26, 2016.
- ↑ Cyrruer, Joseph (September 1, 2018). "Cody wins NWA Worlds Heavyweight Title at All In". Wrestling Observer Figure Four Online. สืบค้นเมื่อ September 2, 2018.
- ↑ "IWGP United States Championship History" (ภาษาญี่ปุ่น). New Japan Pro-Wrestling. June 5, 2019. สืบค้นเมื่อ June 5, 2019.
- ↑ "Cody Rhodes beats Mike Bennett to win the Northeast Wrestling title". Pro Wrestling Insider. March 19, 2017. สืบค้นเมื่อ March 19, 2017.
- ↑ 101.0 101.1 "OVW Television Championship". Ohio Valley Wrestling. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ April 5, 2011. สืบค้นเมื่อ April 3, 2011.
- ↑ "PWI Awards". Pro Wrestling Illustrated. Kappa Publishing Group. สืบค้นเมื่อ October 4, 2020.
- ↑ OfficialPWI (January 14, 2020). "PWI on Twitter" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ October 4, 2020 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ "PWI Awards". Pro Wrestling Illustrated. 30 (3): 66–67. 2009.
- ↑ "Pro Wrestling Illustrated (PWI) 500 for 2020". The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ August 28, 2020.
- ↑ "ROH WRESTLER OF THE YEAR: CODY". Ring of Honor. January 11, 2018. สืบค้นเมื่อ January 11, 2018.
- ↑ "FEUD OF THE YEAR: CODY VS KENNY OMEGA". Ring of Honor. January 9, 2019.
- ↑ "The top 10 men's wrestlers of 2018". SI.com.
- ↑ "WCPW Internet Championship". What Culture Pro Wrestling. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ October 4, 2017. สืบค้นเมื่อ October 3, 2017.
- ↑ "Intercontinental Championship – Cody Rhodes". WWE. August 12, 2011. สืบค้นเมื่อ December 11, 2011.
- ↑ "Intercontinental Championship – Cody Rhodes". สืบค้นเมื่อ January 10, 2020.
- ↑ "WWE Tag Team Championships – Drew McIntyre & "Dashing" Cody Rhodes". คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ October 19, 2013.
- ↑ "PWTorch.com - CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 10/22: Complete "virtual-time" coverage of live Raw leading to HIAC - Ryback hype continues, GM removed, lumberjack main event". pwtorch.com.
- ↑ "2010 Slammy Award Winners". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ April 16, 2012. สืบค้นเมื่อ December 13, 2010.
- ↑ "2013 Slammy Award winners". WWE. December 8, 2013. สืบค้นเมื่อ April 17, 2016.
- ↑ Meltzer, Dave (January 25, 2016). "January 25, 2016 Wrestling Observer Newsletter: 2015 Observer Awards Issue". Wrestling Observer Newsletter. Campbell, California: 47. ISSN 1083-9593.
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: โคดี โรดส์ |
- โคดี โรดส์ ที่ WWE.com
- โคดี โรดส์ ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส