ไพโอเนียร์ 11 (อังกฤษ: Pioneer 11) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 6 เมษายน ค.ศ. 1973 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการไพโอเนียร์ เพื่อศึกษาแถบดาวเคราะห์น้อย, สภาพแวดล้อมรอบดาวพฤหัสบดี, ลมสุริยะ, รังสีคอสมิก และดาวเสาร์ และท้ายที่สุดได้ไกลออกไปในระบบสุริยะ และเฮลิโอสเฟียร์[2] เป็นการสำรวจแรกที่พบดาวเสาร์ และครั้งที่สองที่บินผ่านแถบดาวเคราะห์น้อย และดาวพฤหัสบดี แต่เนื่องจากข้อจำกัดของพลังงานและระยะทางมากมายในการสำรวจ การสื่อสารได้สูญหายไปตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995

ไพโอเนียร์ 11
ประเภทภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์และเฮลิโอสเฟียร์
ผู้ดำเนินการNASA / ARC
COSPAR ID1973-019A
SATCAT no.6421
เว็บไซต์Pioneer Project website (archived)
NASA Archive page
ระยะภารกิจ22 ปี 7 เดือน 19 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตTRW
มวลขณะส่งยาน258.5 กก.[1]
กำลังไฟฟ้า155 วัตต์ (ตอนปล่อยตัว)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นApril 6, 1973, 02:11:00 (1973-04-06UTC02:11Z) UTC[1]
จรวดนำส่งAtlas SLV-3D Centaur-D1A Star-37E
ฐานส่งแหลมคะแนเวอรัล LC-36B
สิ้นสุดภารกิจ
ติดต่อครั้งสุดท้าย24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 (1995-11-24)
บินผ่านดาวพฤหัสบดี
เข้าใกล้สุด3 ธันวาคม ค.ศ. 1974
ระยะทาง43,000 กิโลเมตร (27,000 ไมล์)
บินผ่านดาวเสาร์
เข้าใกล้สุด1 กันยายน ค.ศ. 1979
ระยะทาง21,000 กิโลเมตร (13,000 ไมล์)
 

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "Pioneer 11". NASA's Solar System Exploration website. สืบค้นเมื่อ December 1, 2022.
  2. Fimmel, R. O.; Swindell, W.; Burgess, E. Pioneer Odyssey. SP-349/396. Washington, D.C.: NASA-Ames Research Center. OCLC 3211441. สืบค้นเมื่อ January 9, 2011.

แหล่งที่มา

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้