โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก
โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก[8] (Preeclampsia) คือกลุ่มอาการทางการแพทย์ที่มีลักษณะคือเกิดมีภาวะความดันเลือดสูงและภาวะปัสสาวะมีโปรตีนในหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์เกินกว่า 20 สัปดาห์ และไม่มีความดันเลือดสูงมาก่อน แบ่งออกเป็นชนิดรุนแรงและไม่รุนแรง โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักมีสาเหตุจากหลายปัจจัย ปัจจุบันเชื่อว่าเกิดจากการที่มีสารที่สร้างจากรกที่พัฒนาผิดปกติไปทำให้เกิดความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุหลอดเลือดของมารดา อาการที่รุนแรงหลายอย่างของโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเกิดจากการมีความเสียหายต่อเซลล์เยื่อบุของอวัยวะต่างๆ ของมารดา รวมถึงไต และตับ
โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก (Preeclampsia) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Preeclampsia toxaemia (PET) |
A micrograph showing hypertrophic decidual vasculopathy, a finding seen in gestational hypertension and pre-eclampsia. H&E stain. | |
สาขาวิชา | Obstetrics |
อาการ | High blood pressure, protein in the urine[1] |
ภาวะแทรกซ้อน | Red blood cell breakdown, low blood platelet count, impaired liver function, kidney problems, swelling, shortness of breath due to fluid in the lungs, eclampsia[2][3] |
การตั้งต้น | After 20 weeks of pregnancy[2] |
ปัจจัยเสี่ยง | Obesity, prior hypertension, older age, diabetes mellitus[2][4] |
วิธีวินิจฉัย | BP > 140 mmHg systolic or 90 mmHg diastolic at two separate times[3] |
การป้องกัน | Aspirin, calcium supplementation, treatment of prior hypertension[4][5] |
การรักษา | Delivery, medications[4] |
ยา | Labetalol, methyldopa, magnesium sulfate[4][6] |
ความชุก | 2–8% of pregnancies[4] |
การเสียชีวิต | 46,900 hypertensive disorders in pregnancy (2015)[7] |
การวินิจฉัย
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
แนะนำให้มีการตรวจหาภาวะครรภ์เป็นพิษตลอดระยะเวลาที่ตั้งครรภ์ โดยใช้การวัดความดันเลือดเป็นการคัดกรองเบื้องต้น[9]
ระบาดวิทยา
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สาเหตุ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พยาธิกำเนิด
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การวินิจฉัยแยกโรค
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภาวะแทรกซ้อน
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การรักษาและการป้องกัน
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การใช้แมกนีเซียมซัลเฟต
แก้การควบคุมอาหาร
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การออกกำลังกาย
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การให้สารทางอิมมูน
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แก้- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อEi2012
- ↑ 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อAl2014
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อACOG2013
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อWHO2011
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อHend2014
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อAru2013
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGBD2015De
- ↑ ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน เก็บถาวร 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. เรียกข้อมูลวันที่ 7 ตค. 2552.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อUSPSTF2017
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Preeclampsia Foundation(อังกฤษ)
- Action on Preeclampsia(อังกฤษ)
- Australian Action on Pre-eclampsia(อังกฤษ)
การจำแนกโรค |
---|