แวนการ์ด 1 (ID: 1958-Beta 2[2]) เป็นดาวเทียมในวงโคจรของโลกดวงที่สี่ที่ปล่อย (หลังสปุตนิก 1, สปุตนิก 2 และเอ็กซ์พลอเรอร์ 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์[3] แม้ว่าเสียการสื่อสารกับดาวเทียมนี้ในปี 2507 แต่ยังเป็นดาวเทียมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังอยู่ในวงโคจร ดาวเทียมนี้ได้รับออกแบบเพื่อทดสอบสมรรถนะการปล่อยของยานปล่อยสามขั้นโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแวนการ์ด และผลของสิ่งแวดล้อมต่อดาวเทียมและระบบดาวเทียมในวงโคจรโลก นอกจากนี้ยังใช้เพื่อเก็บการวัด ภูมิมาตรศาสตร์ผ่านการวิเคราะห์วงโคจร นิกิตา ครุสชอฟ นายกรัฐมนตรีโซเวียตจณะนั้น อธิบายแวนการ์ด 1 ว่า "ดาวเทียมเกรปฟรูต"[4]

Vanguard 1
Image of the satellite Vanguard 1.
ประเภทภารกิจEarth science
ผู้ดำเนินการU.S. Navy
Harvard designation1958 Beta 2
COSPAR ID1958-002B
SATCAT no.00005
เว็บไซต์Vanguard 1
ระยะภารกิจ~2,200 days
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตNaval Research Laboratory
มวลขณะส่งยาน1.47 กิโลกรัม (3.2 ปอนด์)
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นMarch 17, 1958, 12:15:41 (1958-03-17UTC12:15:41Z) UTC
จรวดนำส่งVanguard TV-4
ฐานส่งCape Canaveral LC-18A
สิ้นสุดภารกิจ
ติดต่อครั้งสุดท้ายแม่แบบ:End-date
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ~240-year orbital lifetime
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงGeocentric
ระบบวงโคจรMEO
กึ่งแกนเอก8,621.41 กิโลเมตร (5,357.10 ไมล์)*[1]
ความเยื้อง0.1844061[1]
ระยะใกล้สุด660 กิโลเมตร (410 ไมล์)*[1]
ระยะไกลสุด3,840 กิโลเมตร (2,390 ไมล์)*[1]
ความเอียง34.24 degrees[1]
คาบการโคจร132.78 minutes[1]
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น181.84 degrees[1]
มุมของจุดใกล้ที่สุด120.16 degrees[1]
มุมกวาดเฉลี่ย10.84 degrees[1]
การเคลื่อนไหวเฉลี่ย10.84[1]
วันที่ใช้อ้างอิง23 January 2015, 12:26:22 UTC[1]
รอบการโคจร99,119[1]
 

อ้างอิง

แก้
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 "Vanguard 1 Satellite details 1958-002B NORAD 00005". N2YO. 23 January 2015. สืบค้นเมื่อ 25 January 2015.
  2. "U.S. Space Objects Registry". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-06. สืบค้นเมื่อ 2009-06-25.
  3. Vanguard I the World's Oldest Satellite Still in Orbit เก็บถาวร 2015-03-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, accessed September 24, 2007
  4. "Vanguard I - the World's Oldest Satellite Still in Orbit". Spacecraft Engineering Department, U.S. Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-19. สืบค้นเมื่อ 2016-03-17.