แบเรียมไอโอไดด์

แบเรียมไอโอไดด์ (อังกฤษ: barium iodide) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ BaI2 มีทั้งอยู่ในรูปแอนไฮดรัสและไฮเดรต (BaI2(H2O)2) แบเรียมไอโอไดด์ในรูปไฮเดรตละลายได้ในน้ำ, เอทานอลและแอซีโทน เมื่อได้รับความร้อนจะเปลี่ยนรูปเป็นเกลือแอนไฮดรัส

แบเรียมไอโอไดด์[1]
ชื่อ
IUPAC name
Barium iodide
ชื่ออื่น
Barium iodide, anhydrous
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.033.873 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 237-276-9
UNII
  • InChI=1S/Ba.2HI/h;2*1H/q+2;;/p-2 checkY
    Key: SGUXGJPBTNFBAD-UHFFFAOYSA-L checkY
  • InChI=1/Ba.2HI/h;2*1H/q+2;;/p-2
    Key: SGUXGJPBTNFBAD-NUQVWONBAS
  • I[Ba]I
  • [Ba+2].[I-].[I-]
คุณสมบัติ
BaI2 (anhydrous)
BaI2·2H2O (dihydrate)
มวลโมเลกุล 391.136 g/mol (anhydrous)
427.167 g/mol (dihydrate)
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกสีขาวแบบออร์โธรอมบิก (anhydrous)
ผลึกไม่มีสี (dihydrate)
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น 5.15 g/cm3 (anhydrous)
4.916 g/cm3 (dihydrate)
จุดหลอมเหลว 711 องศาเซลเซียส (1,312 องศาฟาเรนไฮต์; 984 เคลวิน) (anhydrous)
decomposes at 740 °C (dihydrate)
166.7 g/100 mL (0 °C)
221 g/100 mL (20 °C)
246.6 g/100 mL (70 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายในเอทานอลและแอซีโทน
-124.0·10−6 cm3/mol
โครงสร้าง
PbCl2-type (ออร์โธรอมบิก oP12)
Pnma (No. 62)
อุณหเคมี
-602.1 kJ·mol−1
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
เป็นพิษ
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
แบเรียมฟลูออไรด์
แบเรียมคลอไรด์
แบเรียมโบรไมด์
แคทไอออนอื่น ๆ
เบริลเลียมไอโอไดด์
แมกนีเซียมไอโอไดด์
แคลเซียมไอโอไดด์
สตรอนเชียมไอโอไดด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โครงสร้างของแบเรียมไอโอไดด์ในรูปแอนไฮดรัสมีความคล้ายคลึงกับเลด(II) คลอไรด์ โดยอะตอมของแบเรียมอยู่ตรงกลางจับกับลิแกนด์ของไอโอไดด์ 9 ตัว[2] และมีโครงสร้างผลึกที่คล้ายกับแบเรียมคลอไรด์ (BaCl2)[3]

แบเรียมไอโอไดด์มีความเป็นพิษเช่นเดียวกับเกลืออื่น ๆ ของแบเรียม จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง[4][5]

ปฏิกิริยา แก้

แบเรียมไอโอไดด์ในรูปแอนไฮดรัสเตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาของแบเรียมกับ 1,2-ไดไอโอโดอีเทนในอีเทอร์[6]

แบเรียมไอโอไดด์ทำปฏิกิริยาสารประกอบแอลคิลของโพแทสเซียมได้สารประกอบออร์แกโนแบเรียม[7]

แบเรียมไอโอไดด์สามารถถูกรีดิวซ์เป็นโลหะแบเรียมได้ เมื่อทำปฏิกิริยากับลิเทียมไบฟีนิล[8]

อ้างอิง แก้

  1. Lide, David R. (1998), Handbook of Chemistry and Physics (87 ed.), Boca Raton, FL: CRC Press, pp. 4–44, ISBN 0-8493-0594-2
  2. Wells, A.F. (1984) Structural Inorganic Chemistry, Oxford: Clarendon Press. ISBN 0-19-855370-6.
  3. Brackett, E. B.; Brackett, T. E.; Sass, R. L.; The Crystal Structures of Barium Chloride, Barium Bromide, and Barium Iodide. J. Phys. Chem., 1963, volume 67, 2132 – 2135
  4. "Barium iodide dihydrate 98%". Sigma-Aldrich. สืบค้นเมื่อ June 13, 2017.
  5. "Barium iodide". Chemistry Learner. สืบค้นเมื่อ June 13, 2017.
  6. Duval, E.; Zoltobroda, G.; Langlois, Y.; A new preparation of BaI2: application to (Z)-enol ether synthesis. Tetrahedron Letters, 2000, 41, 337-339
  7. Walter, M. D.; Wolmershauser, G.; Sitzmann, H.; Calcium, Strontium, Barium, and Ytterbium Complexes with Cyclooctatetraenyl or Cyclononatetraenyl Ligands. J. Am. Chem. Soc., 2005, 127 (49), 17494 – 17503.
  8. Yanagisawa, A.; Habaue, S.; Yasue, K.; Yamamoto, H.; Allylbarium Reagents: Unprecedented Regio- and Stereoselective Allylation Reactions of Carbonyl Compounds. J. Am. Chem. Soc.1994, 116,6130-6141

แหล่งข้อมูลอื่น แก้