ในแคลคูลัส สูตรหรือกฎยกกำลัง (อังกฤษ: power rule) ใช้เพื่อหาอนุพันธ์ฟังก์ชันในรูป เมื่อใดก็ตามที่ เป็นจำนวนจริง เนื่องจากการหาอนุพันธ์เป็นการดำเนินการเชิงเส้นบนปริภูมิของฟังก์ชันหาอนุพันธ์ได้ พหุนามจึงสามารถหาอนุพันธ์ได้โดยใช้กฎนี้ กฎยกกำลังรองรับอนุกรมเทย์เลอร์เนื่องจากเชื่อมโยงอนุกรมกำลังกับอนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ประพจน์ของกฎยกกำลัง

แก้

ให้   เป็นฟังก์ชันที่สอดคล้องกับ   สำหรับทุก   ที่  [a] แล้ว

  กฎยกกำลังของการปริพันธ์กล่าวว่า   สำหรับจำนวนจริงใด ๆ   กฎดังกล่าวสามารถหาได้โดยการย้อนกลับกฎยกกำลัฃสำหรับอนุพันธ์ ในสมการนี้ C เป็นค่าคงตัวใด ๆ

บทพิสูจน์

แก้

พิสูจน์โดยใช้การหาอนุพันธ์โดยปริยาย

แก้

เป็นวิธีวางนัยทั่วไปตรง ๆ ของกฎยกกำลังไปยังเลขยกกำลังตรรกยะ ใช้การหาอนุพันธ์โดยปริยาย

ให้   เมื่อ   ทำให้  

แล้ว

 

อนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการในส่วน  

 

แก้หา  

 

เนื่องาก  

 

ใช้สมบัติของเลขยกกำลัง

 

ให่้   สามารถสรุปได้ว่า   เมื่อ   เป็นจำนวนตรรกยะ

การนำไปใช้กับพหุนาม

แก้

พหุนามอาจเป็นฟังก์ชันที่ง่ายที่สุดในการทำแคลคูลัส อนุพันธ์ และปริพันธ์เป็นไปตามกฎต่อไปนี้

 
 

ดังนั้นอนุพันธ์ของ   ก็คือ   และปริพันธ์ของ   คือ  

บทพิสูจน์

แก้

เนื่องจากการหาอนุพันธ์เป็น การแปลงเชิงเส้น จะได้

 

ดังนั้นจะต้องหา   สำหรับ จำนวนธรรมชาติ   ใดๆ ซึ่งมีการพิสูจน์โดยอุปนัย โดยใช้ กฎผลคูณ ซึ่งขึ้นอยู่กับกรณีที่   เท่านั้น

นัยทั่วไป

แก้
 

เป็นจริงทุกค่า k ที่ xk มีความหมาย หรือ ทุกค่า k ที่เป็นจำนวนตรรกยะที่ xk มีการนิยามไว้

นัยทั่วไปนี้ก็เป็นจริงสำหรับการหาปริพันธ์ของพหุนามเช่นเดียวกัน

ถ้ามีพหุนามที่ตัวคูณไม่ใช่จำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน (เช่นอาจเป็น จำนวนเต็ม หรือตัวเลขมอดุโลของจำนวนเฉพาะ) ก็สามารถนิยามอนุพันธ์จากความสัมพันธ์ข้างบน

หมายเหตุ

แก้
  1. ถ้า   เป็นจำนวนตรรกยะซึ่งมีเศษส่วนอย่างต่ำที่ตัวส่วนเป็นจำนวนคี่ แล้วโดเมนของ   ได้รับการเข้าใจว่าเป็น  . ไม่เช่นนั้นโดเมนจะเป็น  .

อ้างอิง

แก้
  • Larson, Ron; Hostetler, Robert P.; and Edwards, Bruce H. (2003). Calculus of a Single Variable: Early Transcendental Functions (3rd edition). Houghton Mifflin Company. ISBN 0-618-22307-X.