เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแพ้คัดออก
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแพ้คัดออก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2565 ถึง 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2566.[1] ทั้งหมด 16 ทีมที่เข้าร่วมในรอบแพ้คัดออกที่จะตัดสินหาทีมแชมเปียนส์ของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022.[2]
ทีมที่เข้ารอบ
แก้ชนะเลิศของกลุ่มและรองชนะเลิศสามทีมใน รอบแบ่งกลุ่ม ได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย, กับสองโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–อี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม เอฟ–เจ) มีแปดทีมที่เข้ารอบ.
โซน | กลุ่ม | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ (สามทีมที่ดีที่สุด จากแต่ละโซน) |
---|---|---|---|
โซนตะวันตก | เอ | อัลฮิลาล | อัรรอยยาน |
บี | อัชชะบาบ | — | |
ซี | ฟูลอด | ชะบาบอัลอะฮ์ลี | |
ดี | อัดดุฮัยล์ | — | |
อี | อัลฟัยศอลี | นะซาฟ ควาร์ชี | |
โซนตะวันออก | เอฟ | แทกู เอฟซี | อูราวะ เรดไดมอนส์ |
จี | บีจี ปทุม ยูไนเต็ด | — | |
เอช | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ | |
ไอ | โจโฮร์ดารุลตักซิม | — | |
เจ | วิสเซล โคเบะ | คิตฉี |
รูปแบบ
แก้ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ตกรอบเดียว, กับทีมที่ถูกแบ่งออกเป็นสองโซนจนกระทั่งถึงรอบชิงชนะเลิศ. แต่ละคู่จะลงเล่นในแมตช์เลกเดียวที่สนามเป็นกลาง (บทความข้อที่ 9.1), ยกเว้นรอบชิงชนะเลิศลงเล่นในฐานะแมตช์สองเลก. ต่อเวลาพิเศษ และ การดวลลูกโทษ เป็นวิธีการที่จะใช้ตัดสินหาทีมชนะเลิศถ้าในกรณีที่จำเป็น (บทความข้อที่ 9.3 และ 10.1).[2]
ตารางการแข่งขัน
แก้ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบมีดังนี้.[1]
รอบ | วันที่ | |
---|---|---|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย | 19–20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 | 18–19 สิงหาคม ค.ศ. 2022 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ | 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 | 22 สิงหาคม ค.ศ. 2022 |
รอบรองชนะเลิศ | 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 | 25 สิงหาคม ค.ศ. 2022 |
รอบ | เลกแรก | เลกที่สอง |
รอบชิงชนะเลิศ | 29 เมษายน ค.ศ. 2023 | 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 |
สายการแข่งขัน
แก้รอบ 16 ทีมสุดท้าย
แก้สรุปผลการแข่งขัน
แก้รอบ 16 ทีมสุดท้ายจะแข่งขันเพียงแค่เลคเดียว, การจัดโปรแกรมการแข่งขันใช้การจับฉลากคู่แข่งขันร่วมกับการพิจารณารองแชมป์กลุ่มที่ดีที่สุดผ่านเข้าสู่รอบนี้.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัลฮิลาล | 3–1 | ชะบาบอัลอะฮ์ลี |
อัชชะบาบ | 2–0 | นะซาฟ ควาร์ชี |
อัดดุฮัยล์ | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 7–6) |
อัรรอยยาน |
อัลฟัยศอลี | 0–1 | ฟูลอด
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
แทกู เอฟซี | 1–2 (ต่อเวลา) |
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ |
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด | 4–0 | คิตฉี |
โจโฮร์ดารุลตักซิม | 0–5 | อูราวะ เรดไดมอนส์ |
วิสเซล โคเบะ | 3–2 | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
|
โซนตะวันตก
แก้อัลฮิลาล | 3–1 | ชะบาบอัลอะฮ์ลี |
---|---|---|
รายงาน |
|
อัชชะบาบ | 2–0 | นะซาฟ ควาร์ชี |
---|---|---|
|
รายงาน |
อัดดุฮัยล์ | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | อัรรอยยาน |
---|---|---|
มุนตารี 107' | รายงาน | อึนซอนซี 120+3' |
ลูกโทษ | ||
7–6 |
อัลฟัยศอลี | 0–1 | ฟูลอด |
---|---|---|
รายงาน |
|
โซนตะวันออก
แก้แทกู เอฟซี | 1–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
โจโฮร์ดารุลตักซิม | 0–5 | อูราวะ เรดไดมอนส์ |
---|---|---|
รายงาน |
|
รอบก่อนรองชนะเลิศ
แก้สรุปผลการแข่งขัน
แก้รอบก่อนรองชนะเลิศจะลงเล่นในเลกเดียว.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัดดุฮัยล์ | 2–1 | อัชชะบาบ |
ฟูลอด | 0–1 | อัลฮิลาล
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
วิสเซล โคเบะ | 1–3 (ต่อเวลา) |
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ |
อูราวะ เรดไดมอนส์ | 4–0 | บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
|
โซนตะวันตก
แก้อัดดุฮัยล์ | 2–1 | อัชชะบาบ |
---|---|---|
โอลุนกา 77', 85' | รายงาน | อัล-รูไบอี 90+3' |
โซนตะวันออก
แก้วิสเซล โคเบะ | 1–3 (ต่อเวลาพิเศษ) | ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อูราวะ เรดไดมอนส์ | 4–0 | บีจี ปทุม ยูไนเต็ด |
---|---|---|
|
รายงาน |
รอบรองชนะเลิศ
แก้สรุปผลการแข่งขัน
แก้รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในเลกเดียว.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัดดุฮัยล์ | 0–7 | อัลฮิลาล
|
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ | 2–2 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 1–3) |
อูราวะ เรดไดมอนส์
|
โซนตะวันตก
แก้อัดดุฮัยล์ | 0–7 | อัลฮิลาล |
---|---|---|
รายงาน |
|
โซนตะวันออก
แก้ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | อูราวะ เรดไดมอนส์ |
---|---|---|
|
รายงาน | |
ลูกโทษ | ||
1–3 |
รอบชิงชนะเลิศ
แก้รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นในสองเลก.
หมายเหตุ
แก้- ↑ สนามกีฬาไซตามะ 2002 (ไซตามะ), สนามเหย้าตามปกติของอูราวะ เรดไดมอนส์ ซึ่งอาจจะไม่เปิดให้บริการได้เนื่องจากมีการปรับปรุงสนามในวันแรก (26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023). อูราวะ กำลังพิจารณาที่จะขอให้ เอเอฟซี เปลี่ยนตารางการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศเพื่อจัดการแข่งขันในบ้านของพวกเขาที่ สนามกีฬาไซตามะ 2002.[3] ต่อมา, หลังจากตารางการแข่งขันครั้งที่สอง, แมตช์เหย้าของอูราวะจะลงเล่นในวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 ที่สนามกีฬาไซตามะ 2002.[4].
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Latest update on the AFC Champions League 2022". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-01-13.
- ↑ 2.0 2.1 "AFC Champions League 2022 Competition Regulations" (PDF). the-AFC.com. Asian Football Confederation.
- ↑ "ACL2022決勝 第2戦の試合会場について(経過報告6)" [Stadium for ACL2022 Final second leg (progress 6)] (ภาษาญี่ปุ่น). Urawa Red Diamonds. 2022-11-10. สืบค้นเมื่อ 2022-11-18.
- ↑ "Qatar to stage decisive AFC Champions League 2022 (TM) (West) battles". Asian Football Confederation. 13 December 2022. สืบค้นเมื่อ 21 December 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- AFC Champions League, the-AFC.com