เรือลาดตระเวนรัสเซียอะวโรระ

เรือลาดตระเวนอะวโรระ (รัสเซีย: Авро́ра) เป็นเรือลาดตระเวนคุ้มกันชั้นพัลลาดาของกองทัพเรือจักรวรรดิรัสเซียในช่วงสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น เคยเป็นส่วนหนึ่งของกองเรือบอลติกและเข้าร่วมยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะ และในการปฏิวัติเดือนตุลาคมเรือลำนี้ยังยิงปืนใหญ่เพื่อบอกสัญญาณให้พวกบอลเชวิคยึดสถานที่สำคัญในเปโตรกราด ปัจจุบันเรือรบลำนี้เป็นพิพิธภัณฑ์ลอยน้ำในเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก

ประวัติ
รัสเซีย, โซเวียต
ชื่ออะวโรระ
ตั้งชื่อตามเทพีออโรรา
อู่เรือAdmiralty Shipyard, เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก
ปล่อยเรือ23 พฤษภาคม 1897
เดินเรือแรก11 พฤษภาคม 1900[1]
เข้าประจำการ29 กรกฎาคม 1903
บริการ1903-1957
สถานะในประจำการ, ลอยลำ ณ เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก
หมายเหตุlist error: <br /> list (help)
ภารกิจที่มีส่วนร่วม:
กรณีทะเลเหนือ (1904)
ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะ (1905)
การปฏิวัติเดือนตุลาคม (1917)
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: ชั้นพัลลาดา
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 6,731 ตัน
ความยาว: 126.8 m (416 ft)
ความกว้าง: 16.8 m (55 ft)
กินน้ำลึก: 7.3 m (24 ft)
ระบบขับเคลื่อน:
  • ปี1903:
  • เครื่องยนต์ลูกสูบไอน้ำสามเพลา; 24 หม้อต้ม; กำลังรวม 11,610 แรงม้า[2]
ความเร็ว: 19 นอต (35 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 22 ไมล์ต่อชั่วโมง)
พิสัยเชื้อเพลิง: 10 kn (19 km/h; 12 mph)
อัตราเต็มที่: 590 คน[1]
ยุทโธปกรณ์:
  • ปี 1917:
  • ปืน 152 มม. 14 กระบอก
  • 76 มม. 4 กระบอก
  • ปืนกล
  • 3 ท่อยิงตอร์ปีโด

ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1911 เรือรบหลวงอะวโรระเคยได้ไปจอดที่กรุงเทพมหานครเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพีธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว[3]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Official Cruiser Aurora website". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-02. สืบค้นเมื่อ 2014-03-24.
  2. "Best scale models website". สืบค้นเมื่อ 2014-03-24.
  3. topwar.ru. "Сиамский поход крейсера «Аврора»". สืบค้นเมื่อ 2019-02-16.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

59°57′19″N 30°20′17″E / 59.95528°N 30.33806°E / 59.95528; 30.33806