Phencyclidine (ชื่อทางเคมีของ 1-(1- phenylcyclohexyl)piperidine), มักรู้จักในชื่อของ PCP หรือชื่อทางการค้า เช่น Angel Dust , Embalming fluid , Killer weed , Rocket fuel , Supergrass , Ozone , Wack , Killer joint[1] ยาเสพติดชนิดนี้ถือกำเนิดเมื่อตอนช่วงยุคทศวรรษ2490ในรูปของยาชา (anesthetic pharmaceutical drug) แต่ตอนหลังถูกห้ามใช้เพราะว่ามีผลข้างเคียงเช่นเดียวกับยาหลอนประสาท(dissociative hallucinogenic) เช่นเดียวกับยาเค ในภายหลังจำนวนอนุพันธ์สังเคราะห์ของ PCP ได้รับการขายเป็นยาเสพติดที่ไว้ใช้สำหรับพักผ่อนหย่อนใจและไม่ได้ใช้ในการแพทย์[2]

เฟนไซคลิดีน
ข้อมูลทางคลินิก
AHFS/Drugs.comphencyclidine
ช่องทางการรับยาSmoked, Insufflated, Oral
รหัส ATC
  • none
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ7–46 hours
ตัวบ่งชี้
  • 1-(1-phenylcyclohexyl)piperidine
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.150.427
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC17H25N
มวลต่อโมล243.387 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • C1(C2(N3CCCCC3)CCCCC2)=CC=CC=C1
  • InChI=1S/C17H25N/c1-4-10-16(11-5-1)17(12-6-2-7-13-17)18-14-8-3-9-15-18/h1,4-5,10-11H,2-3,6-9,12-15H2 checkY
  • Key:JTJMJGYZQZDUJJ-UHFFFAOYSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ในทางโครงสร้างเคมี PCP จัดอยู่ในกลุ่มของ arylcyclohexylamine class และ ในกลุ่มทางเภสัชวิทยาได้อยู่ในกลุ่มของยาชา [3][4]

PCP สามารถเสพได้โดยการทานเข้าไป ใช้ควัน หรือฉีดเข้าเส้นเลือดก็ได้.[5]

ชีวเคมีและเภสัชวิทยา แก้

เภสัชพลศาสตร์ แก้

PCP เป็นที่รู้จักกันดีในแง่ของการดำเนินการหลักใน ionotropic glutamate receptors, อาทิ NMDA receptor ในหนูและใน homogenate ของสมองหนู.[6][7] ดังนั้นผลของ PCP ก็คือศัตรูของตัวรับ NMDA และ NMDAR ด้วยเหมือนกับยาเคที่ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกในช่วงยุคทศวรรษพ.ศ. 2520 โดย David Lodge และเพื่อนร่วมงานของเขา[2] ศัตรูของตัวรับ NMDA รวมถึงยาเค (ketamine),[8] tiletamine,[9] dextromethorphan,[10] nitrous oxide, MK-801 และ dexoxadrol

เภสัชจลนศาสตร์ แก้

PCP สามารถเมตาบอไลซ์เป็น PCHP, PPC และ PCAA.

เมื่อเผาจะมีบางส่วนแตกตัวเป็น 1-phenyl-1-cyclohexene (PC) และ piperidine.

 
Conversion of PCP into PC and piperidine by heat.


ผลกระทบต่อสมอง แก้

มีหลายผลงานวิจัยกล่าวว่าศัตรูของตัวรับNMDA (NMDA receptor antagonist) ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึง PCP เป็นสาเหตุที่ทำให้หนูเป็นโรคOlney's lesions[11][12] งานวิจัยนั้นได้ทำการทดลองโดยให้ศัตรูของตัวรับ NMDA ในปริมาณที่เข้มข้นมากๆแก่หนู (dizocilpine) เป็นสาเหตุที่ทำให้บางส่วนในสมองของหนูเกิดอาการผิดปกติ โดยผลงานวิจัยทุกชิ้นได้ทดลองในสัตว์ทดลอง ซึ่งไม่สามารถระบุได้ว่า PCP นั้นส่งผลกระทบต่อมนุษย์อย่างไร มีผลงานวิจัยชิ้นหนึ่งซึ่งไม่ได้ถูกนำมาเผยแพร่ของ Frank Sharp รายงานว่าสารชนิดนี้ไม่ได้ส่งผลกระทบตัวรับ NMDA และยาเคก็เหมือนกับยาทั่วๆไปถ้าหากใช้ในปริมาณที่พอเหมาะเพื่อให้มนุษย์ผ่อนคลาย [13] but due to the study never having been published, its validity is highly controversial.

PCP นั้นได้เป็นสาเหตุของโรคจิตเภทโดย (schizophrenia) เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงสาร N-acetylaspartate และ N-acetylaspartylglutamate ในสมองหนูซึ่งส่งผลกระทบทั้งที่อยู่อาศัยของหนูและรวมถึงการตรวจสอบการชันสูตรศพของเนื้อเยื่อสมอง[14] โดยมันเป็นเหตุการณ์ล้อเลียนของโรคจิตเภทในมนุษย์[15]

ประวัติของการใช้รักษาโรค แก้

PCP ถูกสังเคราะห์ใน พ.ศ. 2469[16] ในการสังเคราะห์ช่วงแรกนั้น ในความจริงแล้ว PCP เป็นตัวสื่อของ PCC[2] PCP ถูกค้นพบอย่างบังเอิญโดย Victor Maddox นักเคมีที่ Parke-Davis ในมิชิแกน ในขณะที่เขากำลังตรวจสอบตัวอย่างยาแก้ปวดที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา แม้ว่าการไม่ได้คาดหวังในการเกิดของ PCP นั้นแต่ PCP ก็ได้ถูกระบุว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าสนใจและเป็นตัวแทนของตัวอย่างในการทดสอบเภสัชวิทยา แนวโน้มผลของเภสัชวิทยาในทางการสืบสวนเหล่านี้นำไปสู่การพัฒนาอย่างรวดเร็วของ PCP และได้รับการอนุมัติให้เป็นสารใช้ตรวจสอบยาเสพติดภายใต้ชื่อทางการค้าที่มีชื่อว่า Sernyl ในยุคทศวรรศ 2490ได้ถูกใช้เป็นยาระงับความเจ็บปวด (anesthetic) แต่ว่ายาตัวนี้มีค่าครึ่งชีวิตที่ยาวนานและก่อให้เกิดผลข้างเคียง (side effects) อาทิ อาการประสาทหลอน(hallucinations) บ้า(mania) เพ้อ(delirium) และสับสน(disorientation) โดยถูกถอดถอนออกในปีพ.ศ. 2508 และถูกจำกัดการใช้ยา[2][17][18]

 
PCP ที่ผิดกฎหมายที่ถูกจับโดยปปส.

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. US Department of Justice, National Drug Intelligence Center. PCP Fast Facts เก็บถาวร 2018-05-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Morris, H.; Wallach, J. (2014). "From PCP to MXE: a comprehensive review of the non-medical use of dissociative drugs". Drug Testing and Analysis.
  3. Drugs and Behavior, 4th Edition, McKim, William A., ISBN 0-13-083146-8
  4. Kapur, S. and P. Seeman. "NMDA receptor antagonists ketamine and PCP have direct effects on the dopamine D2 and serotonin 5-HT2receptorsimplications for models of schizophrenia(2002)
  5. "NIDA InfoFacts: Hallucinogens – LSD, Peyote, Psilocybin, and PCP". DrugAbuse.gov. National Institute on Drug Abuse. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-26. สืบค้นเมื่อ 2011-01-26.
  6. Large CH, Bison S, Sartori I, Read KD, Gozzi A, Quarta D, Antolini M, Hollands E, Gill CH, Gunthorpe MJ, Idris N, Neill JC, Alvaro GS (Jul 2011). "The efficacy of sodium channel blockers to prevent phencyclidine-induced cognitive dysfunction in the rat: potential for novel treatments for schizophrenia". The Journal of Pharmacology and Experimental Therapeutics. 338 (1): 100–13. doi:10.1124/jpet.110.178475. PMID 21487071. S2CID 1862326.
  7. Seeman P, Guan HC, Hirbec H (2009). "Dopamine D2High receptors stimulated by phencyclidines, lysergic acid diethylamide, salvinorin A, and modafinil". Synapse. 63 (8): 698–704. doi:10.1002/syn.20647. PMID 19391150. S2CID 17758902.
  8. Caddy C, Giaroli G, White TP, Shergill SS, Tracy DK (Apr 2014). "Ketamine as the prototype glutamatergic antidepressant: pharmacodynamic actions, and a systematic review and meta-analysis of efficacy". Therapeutic Advances in Psychopharmacology. 4 (2): 75–99. doi:10.1177/2045125313507739. PMC 3952483. PMID 24688759.
  9. Klockgether T, Turski L, Schwarz M, Sontag KH, Lehmann J (Oct 1988). "Paradoxical convulsant action of a novel non-competitive N-methyl-D-aspartate (NMDA) antagonist, tiletamine". Brain Research. 461 (2): 343–8. doi:10.1016/0006-8993(88)90265-X. PMID 2846121. S2CID 41671395.
  10. Burns JM, Boyer EW (2013). "Antitussives and substance abuse". Substance Abuse and Rehabilitation. 4: 75–82. doi:10.2147/SAR.S36761. PMC 3931656. PMID 24648790.
  11. Olney JW, Labruyere J, Price MT (June 1989). "Pathological changes induced in cerebrocortical neurons by phencyclidine and related drugs". Science. 244 (4910): 1360–1362. Bibcode:1989Sci...244.1360O. doi:10.1126/science.2660263. PMID 2660263.
  12. Hargreaves RJ, Hill RG, Iversen LL (1994). "Neuroprotective NMDA Antagonists: The Controversy over Their Potential for Adverse Effects on Cortical Neuronal Morphology". Brain Edema IX. Acta Neurochirurgica. Supplementum. Vol. 60. pp. 15–19. doi:10.1007/978-3-7091-9334-1_4. ISBN 978-3-7091-9336-5. PMID 7976530.
  13. Jansen, Karl. Ketamine: Dreams and Realities. MAPS, 2004. ISBN 0-9660019-7-4
  14. Reynolds LM, Cochran SM, Morris BJ, Pratt JA, Reynolds GP (March 2005). "Chronic phencyclidine administration induces schizophrenia-like changes in N-acetylaspartate and N-acetylaspartylglutamate in rat brain". Schizophrenia Research. 73 (2–3): 147–152. doi:10.1016/j.schres.2004.02.003. PMID 15653257. S2CID 1651693.
  15. Murray JB (May 2002). "Phencyclidine (PCP): a dangerous drug, but useful in schizophrenia research". The Journal of Psychology. 136 (3): 319–327. doi:10.1080/00223980209604159. PMID 12206280. S2CID 20334137.
  16. "PCP". CESAR (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-12. สืบค้นเมื่อ 20 February 2018.
  17. Zukin, Stephen R; Sloboda, Zili; Javitt, Daniel C (2005). "Phencyclidine (PCP)". ใน Lowinson, Joyce H; Ruiz, Pedro; Millman, Robert B; Langrod, John G (บ.ก.). Substance Abuse: A Comprehensive Textbook (4th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. ISBN 0-7817-3474-6. สืบค้นเมื่อ 2 December 2010.
  18. Maisto, Stephen A.; Mark Galizio; Gerard Joseph Connors (2004). Drug Use and Abuse. Thompson Wadsworth. ISBN 0-15-508517-4.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้