เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2020 รอบชิงชนะเลิศ

การแข่งขันฟุตบอล

การแข่งขัน เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2020 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการตัดสินหาผู้ชนะของ เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20, ฤดูกาลที่ 77 ของฟุตบอลถ้วยหลักของเยอรมนี. นัดนี้ลงเล่นไปเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 ที่สนาม โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[2][3] แม้ว่าเดิมทีจะมีกำหนดการแข่งขันจะเป็นวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2020, สมาคมฟุตบอลเยอรมัน ได้ประกาศเลื่อนนัดชิงชนะเลิศไปเมื่อวันที่ 24 เมษายน เนื่องมาจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเยอรมนี.[4]

เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2020 รอบชิงชนะเลิศ
โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ.
รายการเดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20
วันที่4 กรกฎาคม ค.ศ. 2020
สนามโอลึมเพียชตาดิโยน, เบอร์ลิน
ผู้ตัดสินโทเบียส เวลซ์ (ไวสบาเดิน)[1]
ผู้ชม0[note 1]
2019
2021

ทีม แก้

ในตารางด้านล่างนี้, คู่ชิงชนะเลิศนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จะเป็นยุคทสชัมเมอร์โพคาล, ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 จะเป็นยุค เดเอ็ฟเบ-โพคาล.

ทีม จำนวนการลงสนามครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ)
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 3 (1993, 2002, 2009)
ไบเอิร์นมิวนิก 23 (1957, 1966, 1967, 1969, 1971, 1982, 1984, 1985, 1986, 1998, 1999, 2000, 2003, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2013, 2014, 2016, 2018, 2019)

ภูมิหลัง แก้

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ แก้

เดเอ็ฟเบ-โพคาล เริ่มต้นกับ 64 ทีมในการแข่งขันรูปแบบถ้วยน็อคเอาต์ตกรอบเดียว. มีทั้งหมดห้ารอบนำหน้าก่อนถึงนัดชิงชนะเลิศ. แต่ละทีมถูกจับสลากพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะหลังจบ 90 นาทีจะได้ผ่านเข้ารอบ. ถ้าเสมอกัน, 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ จะได้ลงเล่น. ถ้าผลการแข่งขันยังคงระดับอยู่, การดวลลูกโทษ จะเป็นวิธีที่นำมาใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศ.[5]

หมายเหตุ: ผลการแข่งขันด้านล่างนี้, ผลของทีมที่เข้าชิงชนะเลิศจะขึ้นเป็นตัวเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน).

ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน รอบ ไบเอิร์นมิวนิก
คู่แข่งขัน ผล เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20 คู่แข่งขัน ผล
อาเลมันเนีย อาเคิน (A) 4–1 รอบแรก เอเนอร์จี คอทท์บุส (A) 3–1
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น (H) 1–0 รอบสอง เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม (A) 2–1
เฟาเอ็ฟเบ ชตุทท์การ์ท (H) 2–1 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ (H) 4–3
อูนีโอนแบร์ลีน (H) 3–1 รอบก่อนรองชนะเลิศ ชัลเคอ 04 (A) 1–0
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน (A) 3–0 รอบรองชนะเลิศ ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท (H) 2–1

แมตช์ แก้

รายละเอียด แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไบเอิร์นมิวนิก
GK 1   ลูคัส ฮราเด็คกี
RB 8   ลาร์ส เบนเดอร์ (กัปตัน)   81'
CB 12   เอดมอนด์ แทปโซบา
CB 5   สเว็น เบ็นเดอร์
LB 18   เวนเดลล์   28'
CM 20   ชาร์ลส์ อารันกิซ
CM 15   ยูเลียน เบาม์การ์ทลิงเงอร์   46'
RW 19   มุสซา ดิอาบี
AM 11   นาดีเอม อามีรี   46'
LW 9   เลอ็อน ไบลีย์   76'
CF 29   ไค ฮาเวิทซ์
ผู้เล่นสำรอง:
GK 28   รามาซัน เอิซจัน
DF 4   โยนาทัน ทา
DF 6   อาเลกซันดาร์ ดรากอวิช
DF 23   มิตเชลล์ ไวเซอร์   81'
MF 10   เคเร็ม เดมีร์บาย   46'
MF 27   ฟลอเรียน เวิร์ตซ์
MF 38   คาริม เบลลาราบี   76'
FW 13   ลูคัส อาลาริโอ
FW 31   เควิน โฟลลันด์   46'
ผู้จัดการทีม:
  แปแตร์ บอสซ์
 
GK 1   มานูเอ็ล น็อยเออร์ (กัปตัน)
RB 5   แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์
CB 17   เฌโรม โบอาเท็ง   69'
CB 27   ดาวิด อาลาบา
LB 19   อัลฟอนโซ เดวีส์
CM 32   โยซูอา คิมมิช
CM 18   เลอ็อน โกเร็ทซ์คา
RW 22   แซร์ช กนาบรี   87'
AM 25   โทมัส มึลเลอร์   87'
LW 29   กีงส์แล กอมาน   64'
CF 9   รอแบร์ต แลวันดอฟสกี   67'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 26   สเว็น อุลไรช์
DF 2   อัลบาโร โอดริโอโซลา
DF 4   นิคคลัส ซือเลอ
DF 21   ลูกัส แอร์น็องแดซ   69'
MF 6   เตียโก   87'
MF 10   ฟีลีปี โกชิญญู   87'
MF 11   มีกาแอล กุยซ็องส์
FW 14   อิวัน เพริชิช   64'
FW 35   โยชัว เซิร์กซี
ผู้จัดการทีม:
  ฮันส์-ดีเทอร์ ฟลิค

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
Rafael Foltyn (Wiesbaden)
Martin Thomsen (Kleve)
ผู้ตัดสินที่สี่:[1]
Patrick Ittrich (Hamburg)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[1]
Felix Zwayer (Berlin)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[1]
Marco Achmüller (Bad Füssing)

ข้อมูลการแข่งขัน[6]

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • ตัวสำรองของแต่ละทีมมีรายชื่อ 9 คน
  • แต่อาจใช้เปลี่ยนได้จริงแค่ 5 คน, อนุญาตเปลี่ยนตัวคนที่หกได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 2]

ดูเพิ่ม แก้

หมายเหตุ แก้

  1. 1.0 1.1 รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่น หลังประตูสนามปิด เนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเยอรมนี.
  2. แต่ละทีมจะได้รับโอกาสเพียงสามครั้งในการเปลี่ยนตัวผู้เล่น, ด้วยโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนจะเริ่มของการต่อเวลาพิเศษและหมดครึ่งเวลาแรกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Welz leitet DFB-Pokalfinale in Berlin" [Welz leads the DFB-Pokal final in Berlin]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 4 July 2020. สืบค้นเมื่อ 4 July 2020.
  2. "Alle DFB-Pokalsieger" [All DFB-Pokal winners]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2016.
  3. "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender" [DFB executive committee passes framework schedule]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 7 December 2018.
  4. "Präsidium verlegt Termin des Pokalendspiels" [Executive Committee postpones date of cup final]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 24 April 2020. สืบค้นเมื่อ 24 April 2020.
  5. "Modus" [Mode]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 15 August 2012. สืบค้นเมื่อ 11 June 2015.
  6. "Spielordnung" [Match rules] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. p. 58 (60 of PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-10-05. สืบค้นเมื่อ 7 February 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้