เชื้อเพลิงสาหร่าย

เชื้อเพลิงสาหร่าย คือพลังงานเชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง โดยใช้สาหร่ายเป็นวัตถุดิบ จัดได้ว่าเป็นพลังงานสะอาดชนิดหนึ่ง

ประเภทของเชื้อเพลิงสาหร่าย แก้

  • ไบโอดีเซลจากสาหร่าย
  • ไบโอโซลีนจากสาหร่าย

กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงสาหร่าย แก้

  • กระบวนการเพาะเลี้ยงสาหร่าย
    • เก็บเกี่ยวจากธรรมชาติ
    • เพาะเลี้ยง
      • ระบบเปิด บ่อสาหร่าย
      • ระบบปิด เครื่องปฏิกิริยาชีวภาพ
  • กระบวนการสกัดน้ำมันสาหร่าย
    • solvent solvent extraction
  • กระบวนการแปรสภาพเป็นพลังงานเชื้อเพลิง
    • ใช้โดยตรง หรือ ผสมกับเชื้อเพลิงทั่วไป
    • En:microemulsion
      • En:tranesterification
        • acidic catalyzed transesterification
        • alkali catalyzed transesterification
        • enzymetic catalyzed transesterification
        • non catalyzed transesterification
    • En:pyrolysis หรือ (thermal cracking)
    • critical CO2 extraction

การวิจัยและพัฒนาเชื้อเพลิงสาหร่าย แก้

การวิจัยในปัจจุบันทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ต่างมุ่งเด้นด้าน

  • การคัดเลือกสายพันธุ์สาหร่ายที่มีศักยภาพสูง ทั้ง มหสาหร่าย (macro algae) และ จุลสาหร่าย (micro algae)
  • กระบวนการผลิตเพาะเลี้ยงที่มีความเหมาะสมทั้งปริมาณผลผลิตและช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
  • กระบวนการสกัดสารจากสาหร่ายที่มีผลิตภาพสูง
  • กระบวนการแปรสภาพเป็นพลังงานที่ใหอัตราการผลิตสูง

ปี2007 มีการวิจัย การผลิตไบโอดีเซลจากสาหร่าย (Biodiesel Production from Algae) โดยคณะวิจัยของภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [1][2][3]

31 มีนาคม ปี2011 มีการลงนามเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพจากสาหร่าย ระหว่างกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน บมจ. บางจากปิโตรเลียม บจก. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง บจก. ล็อกซ์เลย์ โดยมี รมว. กระทรวงพลังงาน นพ.วรรณรัตน์ ชาญนุกูลเป็นประธาน[4]

จุดแข็งเชื้อเพลิงสาหร่าย แก้

  • เป็นพลังงานทดแทน น้ำมันเชื้อเพลิงแบบดั้งเดิม (ปิโตรเลียม) ซึ่งมีราคาสูง
  • Carbon Cycle บนผิวโลก มีความสมดุล ชะลอการเกิดภาวะโลกร้อน
  • การใช้สาหร่ายเป็นวัตถุดิบ ไม่กระทบต่อพื้นที่หลักทางการเกษตรโดยเฉพาะกับประเทศไทย ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตอาหารของมนุษย์และปศุสัตว์ สร้างความมั่นคงทางอาหาร (Food Security)
  • สาหร่ายมีศักยภาพสูงในการนำมาผลิตพลังงานเมื่อเทียบกับชีวมวลอื่น ๆ เนื่องจาก สาหร่ายมีต้นทุนการผลิตต่ำกว่า และมีความยืดหยุ่นในการผลิตสูงกว่า ทั้งทางเศรษฐกิจและทางสิ่งแวดล้อม
  • สำหรับประเทศไทย ประเทศไทยสามารถสร้างองค์ความรู้และวิจัย รวมทั้งการต่อยอดได้ด้วยตัวเอง อันจะเป็นการช่วยการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Boonprab, K., K.Kaewmanee, S.Patpitak and J.Vichaiprom. 2009. Biodiesel from Freshwater Algae, Cladophora glomerata. Phycologia 48 (4) :11p.
  2. คุณากร แก้วมณี, ทรงพล แพทย์พิทักษ์, จารุวรรณ วิชัยพรหม. 2009. ปัญหาพิเศษ เรื่อง การผลิตไบโอดีเซลจากสาหร่าย (Biodiesel Production from Algae) , ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ 2009. 63น.
  3. กังสดาลย์ บุญปราบ, คุณากร แก้วมณี, ทรงพล แพทย์พิทักษ์, จารุวรรณ วิชัยพรหม, สรายุทธ สามัตถิยากร. 2558. ไบโอดีเซลจากสาหร่ายกลุ่มแมคโครอัลจีของไทย (Biodiesel from Thai macro algae) . วารสารวิทยาศาสตร์การประมงปี 2558 ฉบับที่ 1-2: 64-77.(Abstract in English)
  4. http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/188949.html[ลิงก์เสีย]