เขตพิเศษยกยาการ์ตา

เขตพิเศษยกยาการ์ตา (อินโดนีเซีย: Daerah Istimewa Yogyakarta; ชวา: ꦣꦲꦺꦫꦃꦲꦶꦯ꧀ꦡꦶꦩꦺꦮꦔꦪꦺꦴꦒꦾꦏꦂꦠ) เป็นเขตพิเศษมีสถานะเท่าจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะชวา ติดกับมหาสมุทรอินเดียทางทิศใต้ และมีพื้นที่ติดกับจังหวัดชวากลาง ปกครองโดยรัฐสุลต่านยกยาการ์ตา เขตพิเศษนี้เป็นดินแดนเดียวที่ได้การยอมรับอย่างเป็นทางการว่าเป็นราชาธิปไตยจากรัฐบาลอินโดนีเซีย มีเมืองหลักคือยกยาการ์ตาซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ

เขตพิเศษยกยาการ์ตา

Daerah Istimewa Yogyakarta (อินโดนีเซีย)
ꦣꦲꦺꦫꦃꦲꦶꦯ꧀ꦡꦶꦩꦺꦮꦔꦪꦺꦴꦒꦾꦏꦂꦠ (ชวา)
หมุนตามเข็มนาฬิกา จากบนซ้าย : ชาวประมงตั้งเรือที่หาดบารอนในอำเภอกูนุงกีดุล, ถนนมาลิโอโบโร, หาดปารังตรีติส, วังแห่งยกยาการ์ตา, ท่าเรือ Vredeburg, เขาเมอราปีมองจากกาลิอูรัง, วิหารปรัมบานัน
ธงของเขตพิเศษยกยาการ์ตา
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของเขตพิเศษยกยาการ์ตา
ตรา
สมญา: 
Jogja
คำขวัญ: 
ꦲꦩꦼꦩꦪꦸꦲꦪꦸꦤꦶꦁꦧꦮꦤ (ชวา)
(ความหมาย: "The Vision to Perfect Society")
ที่ตั้งเขตพิเศษยกยาการ์ตาในประเทศอินโดนีเซีย
ที่ตั้งเขตพิเศษยกยาการ์ตาในประเทศอินโดนีเซีย
พิกัด: 7°47′S 110°22′E / 7.783°S 110.367°E / -7.783; 110.367
ประเทศ อินโดนีเซีย
ก่อตั้ง4 มีนาคม 1950
เมืองหลัก
(และเมืองใหญ่สุด)
ยกยาการ์ตา
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการ (สุลต่าน)ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10
 • รองผู้ว่าราชการ (Paku Alam)Paku Alam X
พื้นที่
 • ทั้งหมด3,133.15 ตร.กม. (1,209.72 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่33
ความสูงจุดสูงสุด2,930 เมตร (9,610 ฟุต)
ประชากร
 (2014)Provincial Estimate[1]
 • ทั้งหมด3,594,290 คน
 • อันดับ18
 • ความหนาแน่น1,100 คน/ตร.กม. (3,000 คน/ตร.ไมล์)
Demographics
 • กลุ่มชาติพันธุ์ชวา (96%)
ซุนดา (0.6%)
อื่น ๆ (3.4%)[2]
 • ศาสนาอิสลาม (92.62%)
โรมันคาทอลิก (4.5%)
โปรเตสแตนต์ (2.68%)
ฮินดู และพุทธ (0.09%)
อื่นๆ (0.02%)[3]
 • ภาษาชวา
อินโดนีเซีย (ทางการทั้งสองภาษา)
เขตเวลาUTC+7 (WIB)
ทะเบียนพาหนะAB, YB (for Rickshaws), YK (for Dokars)
HDISteady 0.768 (High)
HDI rank2 (2014)
GDP PPP (2011)เพิ่มขึ้น$6.20 billion[4]
เว็บไซต์jogjaprov.go.id

รัฐสุลต่านยกยาการ์ตาก่อตั้งมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1755 ได้สนับสนุนในการเป็นเอกราชของอินโดนีเซียอย่างไม่เปลี่ยนแปลงในช่วงการปฏิวัติชาติอินโดนีเซีย (1945–1949) เขตพิเศษยกยาการ์ตาปกครองโดยสุลต่านฮาเมิงกูบูโวโนในฐานะผู้ว่าเขตพิเศษ และเจ้าชายปากูอาลัมในฐานะรองผู้ว่าฯ เขตพิเศษมีพื้นที่ 3,185.8 ตร.กม. เป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดเป็นอันดับ 2 ถัดจากจาการ์ตา[5]

หน่วยการบริหาร

แก้

เขตพิเศษยกยาการ์ตาแบ่งออกเป็น 4 อำเภอหรือกาบูปาเต็น 1 นครหรือโกตา และ 78 ตำบล (กาปาเนอวน ใน 4 อำเภอและ เกอมัน-เตริน ในนครยกยาการ์ตา)[6][7][8]

อำเภอ
นคร

อ้างอิง

แก้
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-02. สืบค้นเมื่อ 2018-11-22.
  2. Indonesia's Population: Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape. Institute of Southeast Asian Studies. 2003.
  3. Kementerian Agama Republik Indonesia Wilayah DIY (2010-03-15). "Kementerian Agama RI | Kantor Wilayah DI Yogyakarta". Yogyakarta.kemenag.go.id. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-21. สืบค้นเมื่อ 2011-02-07.
  4. "Statistik Indonesia". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-13.
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-01. สืบค้นเมื่อ 2018-11-22.
  6. Statistik Indonesia 2021 (ภาษาอินโดนีเซีย). สำนักงานสถิติแห่งประเทศอินโดนีเซีย. 2021-02-26. pp. 45–47. สืบค้นเมื่อ 2021-12-05.
  7. "Peraturan Kepala Badan Pusat Statistik Nomor 120 Tahun 2020 Tentang Klasifikasi Desa Perkotaan dan Perdesaan di Indonesia Tahun 2020" (PDF) (ภาษาอินโดนีเซีย). สำนักงานสถิติแห่งประเทศอินโดนีเซีย. สืบค้นเมื่อ 2021-12-05.
  8. Muryanto, Bambang (3 December 2019). "Yogyakarta to restore archaic administrative naming convention". The Jakarta Post. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.