ฮิมาเลีย (ดาวบริวาร)
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ฮิมาเลีย หรือ ไฮเมเลีย (กรีก: Ἱμαλία; อังกฤษ: Himalia; IPA: /hɪmɑːliə/ หรือ /haɪmeɪliə/) เป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มดาวบริวารผิดปกติของดาวพฤหัสบดี และเป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 6 ของดาวพฤหัสบดีทั้งหมด ถูกค้นพบโดยชาลส์ ดิลลอน เพอไรน์ (Charles Dillon Perrine) ที่หอดูดาวลิก เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 1904 และตั้งชื่อตามนิมฟ์ฮิมาเลียในตำนานกรีก ที่ให้กำเนิดบุตร 3 คนของเทพซูส (ซึ่งเทียบเท่าดาวพฤหัสบดีในตำนานกรีก)
ภาพฮิมาเลียที่ถ่ายโดยยาน กัสซีนี | ||||
การค้นพบ | ||||
---|---|---|---|---|
ค้นพบโดย: | C. D. Perrine | |||
ค้นพบเมื่อ: | 3 ธันวาคม ค.ศ.1904[1] | |||
ชื่ออื่น ๆ: | Himalian | |||
ลักษณะของวงโคจร | ||||
ต้นยุคอ้างอิง 27 สิงหาคม 2019 | ||||
ระยะจุดใกล้ศูนย์กลางวงโคจรที่สุด: | 9,782,900 กม. | |||
ระยะจุดไกลศูนย์กลางวงโคจรที่สุด: | 13,082,000 กม. | |||
รัศมีวงโคจรเฉลี่ย: | 11,460,000 กม.[2] | |||
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.16[2] | |||
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 3.312 กม./วินาที | |||
ดาวบริวารของ: | ดาวพฤหัส | |||
ลักษณะทางกายภาพ | ||||
รัศมีเฉลี่ย: | 102.8 × 70.7 กม. (stellar occultation)[3] 85 กม. (ประมาณจากพื้น)[4][5] 75±10 × 60±10 กม. (ประมาณโดย กัสซินี)[5] | |||
พื้นที่ผิว: | ~ 90800 km2 | |||
ปริมาตร: | ~ 2570000 km3 | |||
มวล: | (4.2±0.6)×1018 kg[6] | |||
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | 2.6 g/cm3 (assumed)[4] 1.63 g/cm3 (assuming radius 85 km)[6][a] | |||
ความเร็วหลุดพ้น: | ~ 0.100 km/s | |||
ความเอียงของแกน: | ||||
อัตราส่วนสะท้อน: | 0.04[4][5] | |||
อุณหภูมิ: | ~ 124 K | |||
อุณหภูมิพื้นผิว: |
| |||
ลักษณะของบรรยากาศ | ||||
ความดันบรรยากาศ ที่พื้นผิว: | ~ 0.062 m/s2 (0.006 g) |
ลักษณะทางกายภาพ
แก้ฮิมาเลียปรากฏเป็นสีเทา (ไม่มีสี) เช่นเดียวกับดาวบริวารอื่นของกลุ่มซึ่งมี ดัชนีสี BV = 0.62, VR = 0.4, คล้ายกับดาวเคราะห์น้อยชนิดซี วัดโดย แคส ยืนยันไม่มีรูป คลื่น ที่มีการดูดซึมเล็กน้อยที่ 3 ไมครอนซึ่งสามารถ แสดงสถานะของน้ำ
ดูเพิ่ม
แก้- ↑
Porter, J.G. (1905). "Discovery of a Sixth Satellite of Jupiter". Astronomical Journal. 24 (18): 154B. Bibcode:1905AJ.....24..154P. doi:10.1086/103612.;
Perrine, C.D. (1905-01-25). "Sixth Satellite of Jupiter Confirmed". Harvard College Observatory Bulletin. 175: 1. Bibcode:1905BHarO.175....1P.;
Perrine, C.D. (1905). "Discovery of a Sixth Satellite to Jupiter". Publications of the Astronomical Society of the Pacific. 17 (100): 22–23. Bibcode:1905PASP...17...22.. doi:10.1086/121619.;
Perrine, C.D. (1905). "Orbits of the sixth and seventh satellites of Jupiter". Astronomische Nachrichten. 169 (3): 43–44. Bibcode:1905AN....169...43P. doi:10.1002/asna.19051690304. - ↑ 2.0 2.1 2.2 Jacobson, R. A. (2000). "The orbits of outer Jovian satellites" (PDF). Astronomical Journal. 120 (5): 2679–2686. Bibcode:2000AJ....120.2679J. doi:10.1086/316817.
- ↑ N. Smith; R. Venable (12 May 2018). "Jupiter (06) Himalia". www.asteroidoccultation.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-24. สืบค้นเมื่อ 23 July 2018.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Planetary Satellite Physical Parameters". JPL (Solar System Dynamics). 2008-10-24. สืบค้นเมื่อ 2008-12-11.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Porco, Carolyn C.; และคณะ (March 2003). "Cassini Imaging of Jupiter's Atmosphere, Satellites, and Rings". Science. 299 (5612): 1541–1547. Bibcode:2003Sci...299.1541P. doi:10.1126/science.1079462. PMID 12624258.
- ↑ 6.0 6.1 Emelyanov, N.V. (2005). "The mass of Himalia from the perturbations on other satellites" (PDF). Astronomy and Astrophysics. 438 (3): L33–L36. Bibcode:2005A&A...438L..33E. doi:10.1051/0004-6361:200500143.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน