ฮาเร็ม
ฮาเร็ม (อังกฤษ: Harem) เป็นตุรกีที่มาจากอาหรับ “حرم” (ḥaram) ที่แปลว่า “สถานที่ต้องห้าม, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือที่ปลอดภัย” ที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “حريم” (ḥarīm) ที่แปลว่า “สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ห้ามเข้าสำหรับสมาชิกสตรีในครอบครัว” และคำว่า “حرام ” (ḥarām) ที่แปลว่า “ห้าม หรือ ศักดิ์สิทธิ์” ฮาเร็ม หมายถึงบริเวณสำหรับสตรีโดยเฉพาะสำหรับครอบครัวระบบพหุภริยา (polygyny) ที่เป็นบริเวณที่ต้องห้ามสำหรับบุรุษ คำว่าฮาเร็มมาจากตะวันออกใกล้และนำเข้ามาใช้ทางตะวันตกทางจักรวรรดิออตโตมัน การใช้คำนี้ในสมัยใหม่รวมถึงกลุ่มสตรีที่มีความสัมพันธ์กับบุรุษคนเดียวกัน

ประวัติศาสตร์แก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศิลปะเกี่ยวกับฮาเร็มแก้ไข
- รูปฮาเร็ม
ลานเซรากลิโอ
ฌอง-เลออง เจอโรม
(Jean-Léon Gérôme)
ค.ศ. 1824–1904. ฝรั่งเศสซื้อของในฮาเร็ม
รูดอล์ฟ สโวโบดา
(Rudolf Swoboda)
ค.ศ. 1859-1914. ออสเตรียชีวิตในฮาเร็ม
ควินตานา โอลเลอราส
(Quintana Olleras)
ค.ศ. 1851-1919. อิตาลีสระในฮาเร็ม
ฌอง-เลออง เจอโรม
ค.ศ. 1824–1904. ฝรั่งเศสบริเวณรับรองในฮาเร็ม
จอห์น เฟรดเดอริค หลุยส์
(John Frederick Lewis)
ค.ศ. 1805-1875. อังกฤษน้ำพุในฮาเร็ม
เฟรดเดอริค บริดจ์แมน
(Frederick Bridgeman)
ค.ศ. 1847-1928
อเมริกัน“โอดาลิสค์กับทาส”
ฌอง โอกุสต์ โดมินิค อิงเกรส์“แกรนด์โอดาลิสค์”
ฌอง โอกุสต์ โดมินิค อิงเกรส์ในฮาเร็ม
คาร์ล สปิตซเว็ก
(Carl Spitzweg)คนใช้ในฮาเร็ม
พอล ทรุยเลแบร์ต
(Paul Trouillebert)
ค.ศ. 1829-1900. ฝรั่งเศสตลาดค้าทาส
ฌอง-เลออง เจอโรม
ราว ค.ศ. 1884)
อ้างอิงแก้ไข
- Mohammed Webb. The Influence of Islam on Social Conditions Paper, World Parliament of Religions, Chicago, 1893.
- เว็บไซต์เกี่ยวกับออตโตมัน
ดูเพิ่มแก้ไข
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฮาเร็ม วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฮาเร็มในพระราชวังท็อพคาปิ
บทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |