ฉบับร่าง:อาณาจักรจำบากนาคบุรี

(เปลี่ยนทางจาก อาณาจักรจำบากนาคบุรี)
นครกาลจำบากนาคบุรีศรี
พ.ศ. 2114–พ.ศ. 2256
เมืองหลวงจำบากนาคบุรี
ภาษาทั่วไปภาษาระแด ภาษาลาว ภาษากูย
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
กษัตริย์และเจ้าผู้ครองนคร 
• ประมาณพ.ศ. 2114 - ?
พระเจ้าสุทัศนราชา
• 
นางแพง
• 
พระครูโพนเสม็ด (ญาคูขี้หอม)
ประวัติศาสตร์ 
• แยกตัว
พ.ศ. 2114
• สิ้นสุด
พ.ศ. 2256
ก่อนหน้า
ถัดไป
ระแด
อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ลาว
 ไทย
 กัมพูชา

นครกาลจำบากนาคบุรีศรี หรือ จำบากนาคบุรี เป็นอาณาจักรที่อยู่ทางใต้ของลาวจนไปถึงเขตทางเหนือของกำพูชา ดำรงอยู่ในช่วงเวลาประมาณ พ.ศ. 2114 ถึง พ.ศ. 2256 ซึ่งแยกตัวออกมาจากอาณาจักรล้านช้าง และถูกสถาปนาแทนที่ด้วย อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ ในปี พ.ศ.2256

ประวัติศาสตร์ แก้

ภูมิหลัง แก้

พื้นที่บริเวณแขวงจำปาศักดิ์ประกอบด้วยชาติพันธุ์ กูย และ จาม โดยชาติพันธุ์หลักคือ ระแด จาราย ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาจาม โดยไทยและลาวเรียกว่า ข่าระแด

เมืองระแดหรือแรวแดวนั้นจะต้องส่งส่วยเรียกว่า ส่งส่วยสองฝ่ายฟ้า แก่เมืองที่มีอำนาจเหนือกว่าคือ อาณาจักรอยุธยา และ อาณาจักรล้านช้าง [1][2]

เหตุการณ์ แก้

แยกตัว แก้

หลังสมัยของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช ได้ประกาศเอกราชและตั้งเมืองชื่อ จำบากนาคบุรี โดยมีพระเจ้าสุทัศนราชาเป็นกษัตริย์พระองค์แรก และสืบเชือสายปกครองต่อมาจนถึงสมัยนางแพง

ก่อตั้ง แก้

ช่วยรบกับเขมร แก้

นางเภานางแพง แก้

พระครูโพนเสม็ด แก้

สิ้นสุด แก้

รายพระนามพระมหากษัตริย์ แก้

ลำดับ พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
1 ไม่ปรากฎพระนาม ประมาณ พ.ศ.2114 - ? ทรงสร้างเมืองนครกาลจำปากนาคบุรีศรีบริเวณพื้นที่เดิมของเมืองเศรษฐปุระ
2 พระเจ้าสุทัศนราชา ? - พ.ศ.2170[3] พระราชโอรสของรัชกาลก่อน
3 ไม่ปรากฎพระนาม พ.ศ. 2181 - พ.ศ. 2186 ถูกแต่งตั้งขึ้นมาเนื่องจากรัชกาลก่อนไม่มีรัชทายาท
4 นางเภา ประมาณ พ.ศ. 2186 - ? พระราชธิดารัชกาลก่อน
5 นางแพง ? พระราชธิดารัชกาลก่อน
6 พระครูโพนเสม็ด ? - พ.ศ. 2256 ยกราชสมบัติให้จากรัชกาลก่อน

อ้างอิง แก้

  1. มติชนสุดสัปดาห์ (2021-05-23). "สุจิตต์ วงษ์เทศ : 'จาม' เมืองเรอแดว อยู่โขง, ชี, มูล แหล่งทรัพยากรรัฐอยุธยา". มติชนสุดสัปดาห์.
  2. กรมศิลปากร (1962-10-15). กฎหมายตราสามดวงเล่ม1 กฎมณเฑียรบาล หน้า71. โรงพิมพ์คุรุสภา [1]
  3. พระยามหาอำมาตยาธิบดี. "พงศาวดารนครจำปาศักดิ์ ฉะบับพระยามหาอำมาตยาธิบดี - วิกิซอร์ซ". th.wikisource.org.