อักษรมลยาฬัม ใช้เขียนภาษามลยาฬัม ปรากฏครั้งแรกในจารึก อายุราว พ.ศ. 1373 พัฒนามาจากอักษรวัตเตศุถุ ซึ่งมาจากอักษรพราหมีอีกต่อหนึ่ง เนื่องจากรูปแบบของอักษรมลยาฬัมไม่เหมาะกับการพิมพ์ จึงมีการปรับรูปแบบให้ง่ายเข้าในช่วง พ.ศ. 2513 - 2532

บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง

ภาษามลยาฬัมที่ใช้โดยชาวมุสลิมในมาเลเซียสิงคโปร์ และรัฐเกรละในอินเดียเขียนด้วยอักษรอาหรับ

พยัญชนะ

แก้

การถอดเป็นอักษรไทยตามรูป ใช้กับภาษาที่จัดพยัญชนะวรรคตามแบบภาษาบาลี, ภาษาสันสกฤตเท่านั้นดูเพิ่มที่พยัญชนะวรรค

อักษรมลยาฬัม ถอดเป็นอักษรโรมัน ถอดเป็นอักษรไทยตามรูป ถอดเป็นอักษรไทยตามเสียง
ka /ก/
kha /ค/
ga /ก/
gha /ค/
nga /ง/
ca /จ/
cha /ช/
ja /จ/
jha /ช/
nya /ย/
tta /ต/
ttha /ท/
dda /ด/
ddha /ด/
nna /น/
ta /ต/
tha /ท/
da /ด/
dha /ด/
na /น/
pa /ป/
pha /พ/
ba /บ/
bha /บ/
ma /ม/
ya /ย/
ra /ร/
rra - /ร/
la /ล/
lla /ล/
llla - /ล/
va /ว/
sha /ซ/
ssa /ซ/
sa /ซ/
ha /ฮ/

สระ

แก้

= อะ (a), = อา (aa), = อิ (i), = อี (ii), = อุ (u), = อู (uu), = เอะ (short e), = เอ (ee), = ไอ (ai), = โอะ (short o), = โอ (oo), = เอา (au), = ฤ (vocalic r), = ฤๅ (vocalic rr), = ฦ (vocalic l), =ฦๅ (vocalic ll)

= ka, കാ = kaa, കി = ki, കീ= kii, കു = ku, കൂ = kuu, കെ = Ke, കേ = kee, കൈ = kai, കൊ = ko, കോ = koo, കൌ = kau, കൃ = kr, കൄ = krr,

ตัวเลข

แก้
เลขมลยาฬัม เลขอารบิก
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9

อักษรมลยาฬัมในคอมพิวเตอร์

แก้

สำหรับผู้ใช้วินโดวส์เอ็กซ์พี (Window XP) สามารถอ่านอักษรมลยาฬัม หรือพิมพ์ข้อความสั้น ๆ ด้วยโปรแกรม Character Map ฟอนต์ kartika

มลยาฬัม
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+0D0x        
U+0D1x  
U+0D2x
U+0D3x     ി
U+0D4x      
U+0D5x                              
U+0D6x    
U+0D7x       ൿ


อ้างอิง

แก้