สวัสติกะ
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
สวัสติกะ (ภาษาอังกฤษ: Swastika; สันสกฤต स्वस्तिक svastika) เป็นเครื่องหมายกากบาทที่ตรงส่วนปลายทำมุมฉาก โดยมีทั้งลักษณะที่ทิศทางด้านซ้าย (卍) หรือด้านขวา (卐) เครื่องหมายสวัสติกะ มีการใช้เป็นสัญลักษณ์ใน ศาสนาฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ในประเทศตะวันตกรู้จักกันมากในสัญลักษณ์ของฝ่ายนาซี โดยสวัสติกะของนาซีจะเอียงทำมุม 45 องศากับแนวระนาบ
สวัสติกะของฮินดูจะมีจุด ประดับที่มุมต่างๆ ของสัญลักษณ์
สัญลักษณ์สวัสติกะของฝ่ายนาซี จะมีลักษณะทิศทางทางด้านขวา (卐) หากสังเกตดูจะพบว่าเป็นรูปอักษรโรมันตัว S 2 ตัวซ้อนกัน ซึ่งย่อมาจากคำในภาษาเยอรมัน โดย S ตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Stadt" แปลว่า บ้านเมือง และอีกตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Sicherheit" แปลว่า ปลอดภัย
สวัสติกะรูปแบบต่างๆแก้ไข
สวัสติกะแสดงถึงวัดในพุทธศาสนา ขณะที่กางเขนแสดงถึงโบสถ์คริสต์ (ภาพจากแผนที่รถไฟใต้ดินในกรุงไทเป ไต้หวัน)
สวัสติกะของศาสนาฮินดู
สวัสติกะของศาสนาเชน
สวัสติกะในสัญลักษณ์ของฝ่าหลุนกง
สวัสติกะประดับสร้อยคอ ศิลปะอิหร่านโบราณสมัย 1,000 ปีก่อนคริสตกาล
สวัสติกะในภาพโมเสก ศิลปะโรมัน
ตราอาร์มบอรีย์โก (Boreyko coat of arms) ซึ่งใช้ในตราประจำตระกูลต่างๆ ของโปแลนด์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 - 18
เครื่องหมายอากาศยานของกองทัพอากาศฟินแลนด์ พ.ศ. 2461 - 2488
ตราสวัสติกะของสหภาพสตรีลอตตาสวาลด์ (Lotta Svärd) ประเทศฟินแลนด์
สวัสติกะในธงประจำพรรคนาซี (ต่อมาใช้เป็นธงชาตินาซีเยอรมนี)
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
- "สวัสติกะ" กับความหมายที่แปรเปลี่ยน บทความแปลจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ ที่ ผู้จัดการออนไลน์ (18 ม.ค. 2548)