สมเด็จพระราชินีตวนกู สุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน หรือ จิกปวนเบอซาร์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ บินตี ฮัจญี ฮามีดุน (มลายู: Sultanah Haminah Hamidun; พระราชสมภพ: 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) ทรงเป็นอดีต รายาประไหมสุหรีอากงแห่ง มาเลเซีย และสุลตานะห์แห่งรัฐเกอดะฮ์ องค์ ที่ 14

ฮามีนะห์
ราจาเปอร์ไมซูรีอากง
ดำรงพระยศ13 ธันวาคม ค.ศ. 2011 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 2016
ก่อนหน้าสุลต่านาห์ นูร์ ซาฮีราห์
ถัดไปตุนกู อาซีซะฮ์ อามีนะฮ์ ไมมูนะฮ์ อิสกันดารียะฮ์
สุลตานะห์แห่งรัฐเกอดะฮ์
ดำรงพระยศ21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 – 11 กันยายน ค.ศ. 2017
ก่อนหน้าสุลตานะห์บาฮิยาห์
ถัดไปสุลตานะห์มาลิฮา
จิกปวนเบอซาร์แห่งรัฐเกอดะฮ์
ดำรงพระยศ21 มกราคม ค.ศ. 2018 – ปัจจุบัน
ก่อนหน้าตุ๊งกู่อำปัวอัสมา
พระราชสมภพ (1953-07-15) 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1953 (70 ปี)
บากันเซอไร, รัฐเปรัก, สหพันธรัฐมาลายา
คู่อภิเษกสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ (2518-2560)
ราชวงศ์ราชวงศ์เกอดะฮ์
พระราชบิดาฮัจญี ฮามีดุน ตายิบ
พระราชมารดาอิสมา โมฮามัด
ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี

ประสูติ แก้

ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน ประสูติเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 ที่เมืองบากันเซอไร รัฐเปรัก เป็นธิดาคนที่สี่ในบรรดาบุตรทั้งเจ็ดของฮัจญี ฮามีดุน ตายิบ กับอิสมา โมฮามัด สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเอสเค มาตัง จลูตง และโรงเรียนเอสเอม อิงเงริส บากัน ซไร[1]

อภิเษกสมรส แก้

ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซอม ชาห์ สุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ มีพระราชโอรสธิดาด้วยกัน 3 พระองค์

พระเกียรติยศ แก้

พระอิสริยยศ แก้

  • ฮามีนะห์ บินติฮามีดุน (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 — 25 ธันวาคม พ.ศ. 2518)
  • พระมเหสีฮามีนะห์ บินติฮัจญีฮามีดุน (25 ธันวาคม พ.ศ. 2518 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546)
  • สุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 — 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554)
  • สมเด็จพระราชินีตวนกู สุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ ฮามีดุน (13 ธันวาคม พ.ศ. 2554 — 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
  • สุลตานะห์ ฮัจญะห์ ฮามีนะห์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 — 11 กันยายน 2560)
  • เชปูวันเบซาร์ ดาโต๊ะ เซรี ฮุตามา ฮัจญะ ฮามีนะห์ บินติฮัจญีฮามีดุน (21 มกราคม พ.ศ. 2561 — ปัจจุบัน)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

  •   มาเลเซีย
    • พ.ศ. 2556 -   เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฏแห่งอาณาจักร (Order of the Crown of the Realm)[2]
  •   รัฐเกอดะฮ์
    •   เครื่องราชอิสริยาภรณ์พระราชวงศ์เกอดะฮ์ (Royal Family Order of Kedah)
    •   เครื่องราชอิสริยาภรณ์วงศ์ฮาลิมีแห่งเกอดะฮ์ (Halimi Family Order of Kedah)[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ แก้

อ้างอิง แก้

  1. Alina Simon (10 January 2004). "New Sultanah of Kedah crowned". New Straits Times. p. 4.
  2. Photo เก็บถาวร 2013-04-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน of Abdul Halim and Haminah, King and Queen of Malaysia (2011-)
  3. Photo of Sultan Abdul Halim and Sultanah Haminah
  4. "Raja Permaisuri Agong Tuanku Hajah Haminah receives highest honour from Japan". Bernama. 2013-02-07. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-13. สืบค้นเมื่อ 2013-02-07.
  5. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แด่สมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินีแห่งมาเลเซีย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 130 (6ข): 1. February 15, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-05-08. สืบค้นเมื่อ 2014-11-07.