วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024

การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก ครั้งที่ 6

วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024 (อังกฤษ: 2024 FIVB Volleyball Women's Nations League) เป็นการแข่งขันครั้งที่ 6 ของวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก ซึ่งเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงระดับนานาชาติประจำปี การแข่งขันจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม ถึง 23 มิถุนายน ค.ศ. 2024 และรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[1][2]

วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024
กรุงเทพมหานคร เมืองเจ้าภาพรอบสุดท้าย
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
เมืองกรุงเทพมหานคร (รอบสุดท้าย)
วันที่14 พฤษภาคม – 23 มิถุนายน 2024
ทีม16 (จาก 4 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 7 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศ อิตาลี (สมัยที่ 2nd)
รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น
อันดับที่ 3 โปแลนด์
อันดับที่ 4 บราซิล
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าประเทศอิตาลี ปาโอลา เอโกนู
ตัวเซ็ตยอดเยี่ยมประเทศอิตาลี อาเลสเซีย ออร์โร
ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยม
ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม
ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยมประเทศอิตาลี ปาโอลา เอโกนู
ตัวรับอิสระยอดเยี่ยมประเทศญี่ปุ่น มานามิ โคจิมะ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัด104
ผู้ชม371,655 (3,574 คนต่อนัด)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
Volleyball Nations League

ทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน

แก้

ในครั้งนี้มี 16 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน โดย 11 ทีมเป็นทีมหลัก และอีก 5 ทีมเป็นทีมท้าทาย (Challenger) จะสามารถตกชั้นได้ ฝรั่งเศสถือเป็นครั้งแรกในฐานะผู้ชนะแชลเลนเจอร์คัพ 2023 ได้รับสิทธิ์ในการเข้าร่วมแข่งขันแทนที่โครเอเชียซึ่งเป็นทีมท้าทายอันดับสุดท้ายจากครั้งที่แล้ว

ประเทศ สมาพันธ์ สิทธิ์การเข้าร่วม เข้าร่วมครั้งแรก ผลที่ดีที่สุดก่อนหน้า
รวม ครั้งแรก ครั้งสุดท้าย
  บราซิล ซีเอสวี ทีมหลัก 5 2018 2023 รองชนะเลิศ (2019, 2021, 2022)
  บัลแกเรีย ซีอีวี ทีมท้าทาย 3 2019 2023 อันดับที่ 13 (2023)
  แคนาดา นอร์เซกา ทีมท้าทาย 3 2021 2023 อันดับที่ 10 (2023)
  จีน เอวีซี ทีมหลัก 5 2018 2023 รองชนะเลิศ (2023)
  สาธารณรัฐโดมินิกัน นอร์เซกา ทีมท้าทาย 5 2018 2023 อันดับที่ 6 (2021)
  ฝรั่งเศส ซีอีวี ทีมท้าทาย 0 ไม่มี ครั้งแรก
  เยอรมนี ซีอีวี ทีมหลัก 5 2018 2023 อันดับที่ 8 (2023)
  อิตาลี ซีอีวี ทีมหลัก 5 2018 2023 ชนะเลิศ (2022, 2024)
  ญี่ปุ่น เอวีซี ทีมหลัก 5 2018 2023 อันดับที่ 4 (2021), รองชนะเลิศ (2024)
  เนเธอร์แลนด์ ซีอีวี ทีมหลัก 5 2018 2023 อันดับที่ 5 (2018)
  โปแลนด์ ซีอีวี ทีมท้าทาย 5 2018 2023 อันดับที่ 3 (2023, 2024)
  เซอร์เบีย ซีอีวี ทีมหลัก 5 2018 2023 อันดับที่ 3 (2022)
  เกาหลีใต้ เอวีซี ทีมหลัก 5 2018 2023 อันดับที่ 12 (2018)
  ไทย เอวีซี ทีมหลัก 5 2018 2023 อันดับที่ 8 (2022)
  ตุรกี ซีอีวี ทีมหลัก 5 2018 2023 ชนะเลิศ (2023)
  สหรัฐ นอร์เซกา ทีมหลัก 5 2018 2023 ชนะเลิศ (2018, 2019, 2021)

รูปแบบการแข่งขัน

แก้
รอบแรก

การแข่งขันรอบแรกประกอบไปด้วย 16 ทีม จะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ทีม ซึ่งแต่ละทีมจะแข่งขันทั้งหมด 12 นัด (4 นัดต่อสัปดาห์) โดยจะแข่งขันสลับกันกับทีมชายเป็นเวลาสามสัปดาห์ การแข่งขันจัดขึ้นทุกวันตั้งแต่วันอังคารถึงวันอาทิตย์ในแต่ละสัปดาห์[3]

รอบสุดท้าย

การแข่งขันรอบสุดท้ายจะมี 7 ทีมที่ผ่านการคัดเลือกพร้อมกับทีมเจ้าภาพ ซึ่งจะต้องทำการแข่งขันแบบรอบแพ้คัดออก ซึ่งประกอบด้วยการแข่งขันทั้งหมด 8 นัด ได้แก่: รอบก่อนรองชนะเลิศ 4 นัด, รอบรองชนะเลิศ 2 นัด และรอบชิงเหรียญทองแดงและชิงเหรียญทอง[3]

การแข่งขันแบบรอบแพ้คัดออก:

  1. ทีมอันดับ 1 จะแข่งขันรอบก่อนรองชนะเลิศกับทีมอันดับ 8, ทีมอันดับ 2 จะแข่งขันรอบก่อนรองชนะเลิศกับทีมอันดับ 7, ทีมอันดับ 3 จะแข่งขันรอบก่อนรองชนะเลิศกับทีมอันดับ 6 และทีมอันดับ 4 จะแข่งขันรอบก่อนรองชนะเลิศกับทีมอันดับที่ 5
  2. ในกรณีทีมเจ้าภาพอยู่ใน 8 อันดับแรกของรอบแรก จะได้เป็นทีมอันดับที่ 1 ในรอบก่อนรองชนะเลิศ
  3. ในกรณีทีมเจ้าภาพไม่ได้อยู่ใน 8 อันดับแรกของรอบแรก จะได้เป็นทีมอันดับที่ 8 ในรอบก่อนรองชนะเลิศ

การแบ่งกลุ่ม

แก้

การแบ่งกลุ่มได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2023[4]

สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3
กลุ่ม 1
ตุรกี
กลุ่ม 2
บราซิล
กลุ่ม 3
มาเก๊า
กลุ่ม 4
สหรัฐ
กลุ่ม 5
ฮ่องกง
กลุ่ม 6
ญี่ปุ่น

  ตุรกี
  อิตาลี
  โปแลนด์
  ญี่ปุ่น
  เยอรมนี
  เนเธอร์แลนด์
  บัลแกเรีย
  ฝรั่งเศส

  บราซิล
  สหรัฐ
  เซอร์เบีย
  จีน
  แคนาดา
  สาธารณรัฐโดมินิกัน
  ไทย
  เกาหลีใต้

  จีน
  อิตาลี
  บราซิล
  ญี่ปุ่น
  สาธารณรัฐโดมินิกัน
  เนเธอร์แลนด์
  ไทย
  ฝรั่งเศส

  สหรัฐ
  ตุรกี
  โปแลนด์
  เซอร์เบีย
  เยอรมนี
  แคนาดา
  บัลแกเรีย
  เกาหลีใต้

  จีน
  ตุรกี
  บราซิล
  โปแลนด์
  สาธารณรัฐโดมินิกัน
  เยอรมนี
  ไทย
  บัลแกเรีย

  ญี่ปุ่น
  สหรัฐ
  อิตาลี
  เซอร์เบีย
  เนเธอร์แลนด์
  แคนาดา
  ฝรั่งเศส
  เกาหลีใต้

สนามแข่งขัน

แก้

รอบแรก

แก้
สัปดาห์ที่ 1
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2
อันทันยา, ตุรกี รีโอเดจาเนโร, บราซิล
อันทัลยาสปอตส์ฮอลล์ ศูนย์กีฬาในร่มมารากานังซิญญู
ความจุ: 10,000 ความจุ: 11,800
   
สัปดาห์ที่ 2
กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4
มาเก๊า, จีน อาร์ลิงตัน, สหรัฐ
กาแล็กซีมาเก๊า คอลเลจพาร์กเซ็นเตอร์
ความจุ: 16,000 ความจุ: 7,000
   
สัปดาห์ที่ 3
กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6
ฮ่องกง, จีน ฟูกูโอกะ, ญี่ปุ่น
ฮ่องกง โคลิเซียม มารีนเมสเซฟูกูโอกะ
ความจุ: 12,500 ความจุ: 8,500
   

รอบสุดท้าย

แก้
ทุกนัด
กรุงเทพมหานคร, ไทย
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ความจุ: 8,000
 

ปฏิทินการแข่งขัน

แก้
รอบแรก รอบสุดท้าย
สัปดาห์ที่ 1
14–19 พ.ค.
สัปดาห์ที่ 2
28 พ.ค. – 2 มิ.ย.
สัปดาห์ที่ 3
11–16 มิ.ย.
สัปดาห์ที่ 4
20–23 มิ.ย.
32 นัด 32 นัด 32 นัด 8 นัด

รอบแรก

แก้

ตารางคะแนน

แก้
อันดับ ทีม แข่ง ชนะ แพ้ คะแนน เซตชนะ เซตแพ้ อัตราส่วน แต้มชนะ แต้มแพ้ อัตราส่วน การผ่านเข้ารอบ
1   บราซิล 12 12 0 34 36 9 4.000 1075 873 1.231 รอบสุดท้าย
2   อิตาลี 12 10 2 31 32 10 3.200 1010 812 1.244
3   โปแลนด์ 12 10 2 30 31 8 3.875 942 838 1.124
4   จีน 12 9 3 26 29 14 2.071 1000 886 1.129
5   ญี่ปุ่น 12 8 4 25 28 16 1.750 1011 909 1.112
6   ตุรกี 12 8 4 25 29 18 1.611 1060 977 1.085
7   สหรัฐ 12 7 5 22 27 17 1.588 1018 944 1.078
8   เนเธอร์แลนด์ 12 7 5 21 24 18 1.333 965 903 1.069
9   แคนาดา 12 7 5 20 24 19 1.263 975 945 1.032
10   สาธารณรัฐโดมินิกัน 12 3 9 10 15 29 0.517 956 1029 0.929
11   เซอร์เบีย 12 3 9 9 16 29 0.552 968 1058 0.915
12   เยอรมนี 12 3 9 9 14 28 0.500 907 974 0.931
13   ไทย[a] 12 3 9 7 12 32 0.375 878 1031 0.852 รอบสุดท้าย
14   ฝรั่งเศส 12 2 10 8 10 32 0.313 827 993 0.833
15   เกาหลีใต้ 12 2 10 6 8 33 0.242 751 970 0.774
16   บัลแกเรีย 12 2 10 5 11 34 0.324 863 1064 0.811
แหล่งข้อมูล: VNL 2024 – Women's standings
หมายเหตุ:
  1. ผ่านเข้ารอบเนื่องจากได้สิทธิ์การเป็นเจ้าภาพรอบสุดท้าย


สัปดาห์ที่ 1

แก้

กลุ่ม 1

แก้
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
14 พ.ค. 17:00 บัลแกเรีย   0–3   เนเธอร์แลนด์ 14–25 20–25 22–25     56–75 P2 รายงาน
14 พ.ค. 20:00 อิตาลี   0–3   โปแลนด์ 26–28 23–25 21–25     70–78 P2 รายงาน
15 พ.ค. 17:00 ฝรั่งเศส   0–3   เยอรมนี 22–25 14–25 22–25     58–75 P2 รายงาน
15 พ.ค. 20:00 ญี่ปุ่น   3–2   ตุรกี 25–23 25–21 23–25 20–25 15–11 108–105 P2 รายงาน
16 พ.ค. 14:00 เยอรมนี   1–3   อิตาลี 16–25 16–25 25–21 22–25   79–96 P2 รายงาน
16 พ.ค. 20.00 บัลแกเรีย   0–3   ญี่ปุ่น 13–25 15–25 15–25     43–75 P2 รายงาน
16 พ.ค. 20:00 เนเธอร์แลนด์   1–3   ตุรกี 14–25 25–23 23–25 18–25   80–98 P2 รายงาน
17 พ.ค. 14:00 ญี่ปุ่น   3–0   เยอรมนี 25–21 25–15 25–22     75–58 P2 รายงาน
17 พ.ค. 17:00 ฝรั่งเศส   0–3   โปแลนด์ 20–25 16–25 17–25     53–75 P2 รายงาน
17 พ.ค. 20:00 อิตาลี   3–0   บัลแกเรีย 25–11 25–22 25–19     75–52 P2 รายงาน
18 พ.ค. 14:00 โปแลนด์   3–0   เนเธอร์แลนด์ 25–20 26–24 25–18     76–62 P2 รายงาน
18 พ.ค. 17:00 ฝรั่งเศส   3–1   บัลแกเรีย 19–25 25–21 25–11 29–27   98–84 P2 รายงาน
18 พ.ค. 20:00 อิตาลี   3–1   ตุรกี 25–27 25–21 25–21 25–19   100–88 P2 รายงาน
19 พ.ค. 14:00 เยอรมนี   1–3   เนเธอร์แลนด์ 21–25 25–21 23–25 20–25   89–96 P2 รายงาน
19 พ.ค. 17:00 โปแลนด์   3–0   ญี่ปุ่น 26–24 25–20 25–23     76–67 P2 รายงาน
19 พ.ค. 20:00 ฝรั่งเศส   0–3   ตุรกี 19–25 16–25 19–25     54–75 P2 รายงาน

กลุ่ม 2

แก้
  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC−05:00)
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
14 พ.ค. 17:30 จีน   3–0   เกาหลีใต้ 25–15 25–16 25–14     75–45 P2 รายงาน
14 พ.ค. 21:00 บราซิล   3–1   แคนาดา 26–24 23–25 26–24 25–12   100–85 P2 รายงาน
15 พ.ค. 17:30 สหรัฐ   3–1   ไทย 25–22 19–25 25–12 25–18   94–77 P2 รายงาน
15 พ.ค. 21:00 เซอร์เบีย   1–3   สาธารณรัฐโดมินิกัน 18–25 17–25 25–21 20–25   80–96 P2 รายงาน
16 พ.ค. 14:00 บราซิล   3–0   เกาหลีใต้ 25–15 25–19 25–17     75–51 P2 รายงาน
16 พ.ค. 17:30 จีน   3–1   สหรัฐ 23–25 25–23 25–22 25–19   98–89 P2 รายงาน
16 พ.ค. 21:00 สาธารณรัฐโดมินิกัน   0–3   แคนาดา 20–25 21–25 22–25     63–75 P2 รายงาน
17 พ.ค. 14:00 เซอร์เบีย   3–0   ไทย 25–13 29–27 25–19     79–59 P2 รายงาน
17 พ.ค. 17:30 จีน   1–3   แคนาดา 22–25 25–20 23–25 22–25   92–95 P2 รายงาน
17 พ.ค. 21:00 บราซิล   3–1   สหรัฐ 25–22 25–16 18–25 25–19   93–82 P2 รายงาน
18 พ.ค. 14:00 เซอร์เบีย   1–3   จีน 25–21 15–25 18–25 18–25   76–96 P2 รายงาน
18 พ.ค. 17:30 เกาหลีใต้   0–3   สาธารณรัฐโดมินิกัน 13–25 19–25 20–25     52–75 P2 รายงาน
18 พ.ค. 21:00 ไทย   1–3   แคนาดา 21–25 13–25 25–20 17–25   76–95 P2 รายงาน
19 พ.ค. 10:00 บราซิล   3–0   เซอร์เบีย 25–15 25–19 25–19     75–53 P2 รายงาน
19 พ.ค. 14:00 สหรัฐ   3–0   สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–23 25–20 25–18     75–61 P2 รายงาน
19 พ.ค. 17:30 ไทย   1–3   เกาหลีใต้ 19–25 25–23 16–25 18–25   78–98 P2 รายงาน

สัปดาห์ที่ 2

แก้

กลุ่ม 3

แก้
  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC+08:00)
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
28 พ.ค. 16:00 ไทย   3–1   สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–22 20–25 25–17 26–24   96–88 P2 รายงาน
28 พ.ค. 19:30 บราซิล   3–2   ญี่ปุ่น 24–26 26–24 19–25 25–20 15–11 109–106 P2 รายงาน
29 พ.ค. 16:00 อิตาลี   3–0   ฝรั่งเศส 25–15 25–14 25–14     75–43 P2 รายงาน
29 พ.ค. 19:30 เนเธอร์แลนด์   1–3   จีน 25–21 23–25 23–25 21–25   92–96 P2 รายงาน
30 พ.ค. 12:30 สาธารณรัฐโดมินิกัน   0–3   อิตาลี 12–25 19–25 21–25     52–75 P2 รายงาน
30 พ.ค. 16:00 ฝรั่งเศส   0–3   ญี่ปุ่น 14–25 18–25 15–25     47–75 P2 รายงาน
30 พ.ค. 19:30 บราซิล   3–1   เนเธอร์แลนด์ 25–17 20–25 25–20 25–18   95–80 P2 รายงาน
31 พ.ค. 12:30 ฝรั่งเศส   2–3   ไทย 23–25 21–25 25–23 25–20 7–15 101–108 P2 รายงาน
31 พ.ค. 16:00 เนเธอร์แลนด์   3–1   สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–17 23–25 25–21 25–17   98–80 P2 รายงาน
31 พ.ค. 19:30 ญี่ปุ่น   3–1   จีน 25–22 19–25 25–18 25–17   94–82 P2 รายงาน
1 มิ.ย. 12:30 บราซิล   3–2   อิตาลี 26–24 25–27 18–25 25–19 15–10 109–105 P2 รายงาน
1 มิ.ย. 16:00 สาธารณรัฐโดมินิกัน   1–3   ญี่ปุ่น 20–25 25–23 24–26 23–25   92–99 P2 รายงาน
1 มิ.ย. 19:30 ไทย   0–3   จีน 23–25 17–25 18–25     58–75 P2 รายงาน
2 มิ.ย. 12:30 ฝรั่งเศส   0–3   เนเธอร์แลนด์ 17–25 10–25 21–25     48–75 P2 รายงาน
2 มิ.ย. 16:00 บราซิล   3–0   ไทย 25–22 25–14 25–17     75–53 P2 รายงาน
2 มิ.ย. 19:30 อิตาลี   3–0   จีน 25–23 25–19 25–16     75–58 P2 รายงาน

กลุ่ม 4

แก้
  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น (UTC−05:00)
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
28 พ.ค. 16:00 โปแลนด์   3–1   เซอร์เบีย 25–16 23–25 25–18 25–22   98–81 P2 รายงาน
28 พ.ค. 19:30 แคนาดา   1–3   สหรัฐ 22–25 17–25 25–23 20–25   84–98 P2 รายงาน
29 พ.ค. 11:00 เกาหลีใต้   2–3   บัลแกเรีย 23–25 25–20 26–24 21–25 13–15 108–109 P2 รายงาน
29 พ.ค. 14:30 เยอรมนี   1–3   ตุรกี 25–20 20–25 9–25 24–26   78–96 P2 รายงาน
30 พ.ค. 12:30 เกาหลีใต้   0–3   โปแลนด์ 20–25 20–25 10–25     50–75 P2 รายงาน
30 พ.ค. 16:00 แคนาดา   3–0   เยอรมนี 25–20 25–15 25–22     75–57 P2 รายงาน
30 พ.ค. 19:30 เซอร์เบีย   1–3   ตุรกี 18–25 31–33 25–21 21–25   95–104 P2 รายงาน
31 พ.ค. 13:00 เยอรมนี   0–3   โปแลนด์ 23–25 20–25 21–25     64–75 P2 รายงาน
31 พ.ค. 16:30 เซอร์เบีย   3–1   แคนาดา 25–22 21–25 26–24 25–20   97–91 P2 รายงาน
31 พ.ค. 20:00 บัลแกเรีย   0–3   สหรัฐ 17–25 22–25 22–25     61–75 P2 รายงาน
1 มิ.ย. 13:00 เกาหลีใต้   0–3   ตุรกี 20–25 15–25 20–25     55–75 P2 รายงาน
1 มิ.ย. 16:30 โปแลนด์   3–1   สหรัฐ 29–27 25–22 20–25 25–23   99–97 P2 รายงาน
1 มิ.ย. 20:00 เซอร์เบีย   3–1   บัลแกเรีย 18–25 25–21 25–17 25–16   93–79 P2 รายงาน
2 มิ.ย. 11:30 เกาหลีใต้   0–3   แคนาดา 15–25 12–25 18–25     45–75 P2 รายงาน
2 มิ.ย. 15:00 สหรัฐ   2–3   ตุรกี 25–21 20–25 21–25 25–12 12–15 103–98 P2 รายงาน
2 มิ.ย. 18:30 บัลแกเรีย   1–3   เยอรมนี 19–25 25–21 21–25 11–25   76–96 P2 รายงาน

สัปดาห์ที่ 3

แก้

กลุ่ม 5

แก้
  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่นประเทศจีน (UTC+08:00)
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 มิ.ย. 17:00 เยอรมนี   1–3   สาธารณรัฐโดมินิกัน 24–26 25–21 21–25 21–25   91–97 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 20:30 บัลแกเรีย   0–3   จีน 15–25 12–25 17–25     44–75 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 17:00 ตุรกี   3–0   ไทย 25–17 25–17 25–17     75–51 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 20:30 บราซิล   3–1   โปแลนด์ 22–25 25–17 25–17 25–16   97–75 P2 รายงาน
13 มิ.ย. 13:30 บัลแกเรีย   2–3   ไทย 23–25 25–22 18–25 25–22 10–15 101–109 P2 รายงาน
13 มิ.ย. 17:00 เยอรมนี   1–3   บราซิล 20–25 22–25 25–21 24–26   91–97 P2 รายงาน
13 มิ.ย. 20:30 สาธารณรัฐโดมินิกัน   1–3   ตุรกี 25–17 15–25 17–25 18–25   75–92 P2 รายงาน
14 มิ.ย. 13:30 บัลแกเรีย   0–3   บราซิล 11–25 11–25 23–25     45–75 P2 รายงาน
14 มิ.ย. 17:00 สาธารณรัฐโดมินิกัน   0–3   โปแลนด์ 31–33 20–25 16–25     67–83 P2 รายงาน
14 มิ.ย. 20:30 จีน   3–0   เยอรมนี 25–19 25–17 25–18     75–54 P2 รายงาน
15 มิ.ย. 13:30 สาธารณรัฐโดมินิกัน   2–3   บัลแกเรีย 26–24 23–25 22–25 26–24 13–15 110–113 P2 รายงาน
15 มิ.ย. 17:00 โปแลนด์   3–0   ไทย 25–15 25–23 25–17     75–55 P2 รายงาน
15 มิ.ย. 20:30 จีน   3–2   ตุรกี 21–25 17–25 25–21 25–23 15–13 103–107 P2 รายงาน
16 มิ.ย. 13:30 เยอรมนี   3–0   ไทย 25–17 25–21 25–20     75–58 P2 รายงาน
16 มิ.ย. 17:00 ตุรกี   0–3   บราซิล 14–25 14–25 19–25     47–75 P2 รายงาน
16 มิ.ย. 20:30 จีน   3–0   โปแลนด์ 25–23 25–15 25–19     75–57 P2 รายงาน

กลุ่ม 6

แก้
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 มิ.ย. 15:30 สหรัฐ   3–0   ฝรั่งเศส 25–15 26–24 25–20     76–59 P2 รายงาน
11 มิ.ย. 18:20 อิตาลี   3–0   แคนาดา 25–16 25–15 25–14     75–45 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 15:30 เนเธอร์แลนด์   3–1   เซอร์เบีย 25–20 25–21 18–25 25–12   93–78 P2 รายงาน
12 มิ.ย. 19:20 เกาหลีใต้   0–3   ญี่ปุ่น 16–25 16–25 23–25     55–75 P2 รายงาน
13 มิ.ย. 12:00 เนเธอร์แลนด์   0–3   สหรัฐ 21–25 20–25 22–25     63–75 P2 รายงาน
13 มิ.ย. 15:30 ฝรั่งเศส   2–3   เกาหลีใต้ 23–25 25–21 25–17 22–25 13–15 108–103 P2 รายงาน
13 มิ.ย. 19:20 ญี่ปุ่น   2–3   แคนาดา 25–23 25–22 20–25 21–25 14–16 105–111 P2 รายงาน
14 มิ.ย. 12:00 เซอร์เบีย   1–3   ฝรั่งเศส 22–25 25–22 23–25 21–25   91–97 P2 รายงาน
14 มิ.ย. 15:30 แคนาดา   0–3   เนเธอร์แลนด์ 24–26 16–25 23–25     63–76 P2 รายงาน
14 มิ.ย. 19:30 อิตาลี   3–0   เกาหลีใต้ 25–16 25–11 25–13     75–40 P2 รายงาน
15 มิ.ย. 12:00 แคนาดา   3–0   ฝรั่งเศส 25–14 25–18 31–29     81–61 P2 รายงาน
15 มิ.ย. 15:30 อิตาลี   3–1   สหรัฐ 25–17 19–25 25–15 25–21   94–78 P2 รายงาน
15 มิ.ย. 19:20 ญี่ปุ่น   3–0   เซอร์เบีย 25–22 25–18 25–15     75–55 P2 รายงาน
16 มิ.ย. 11:30 เนเธอร์แลนด์   3–0   เกาหลีใต้ 25–21 25–11 25–17     75–49 P2 รายงาน
16 มิ.ย. 15:00 เซอร์เบีย   1–3   อิตาลี 20–25 25–20 23–25 22–25   90–95 P2 รายงาน
16 มิ.ย. 18:45 ญี่ปุ่น   0–3   สหรัฐ 15–25 18–25 24–26     57–76 P2 รายงาน

รอบสุดท้าย

แก้
  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่นประเทศไทย (UTC+07:00)
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
20 มิถุนายน
 
 
  บราซิล3
 
22 มิถุนายน
 
  ไทย0
 
  บราซิล2
 
20 มิถุนายน
 
  ญี่ปุ่น3
 
  จีน0
 
23 มิถุนายน
 
  ญี่ปุ่น3
 
  ญี่ปุ่น1
 
21 มิถุนายน
 
  อิตาลี3
 
  อิตาลี3
 
22 มิถุนายน
 
  สหรัฐ0
 
  อิตาลี3
 
21 มิถุนายน
 
  โปแลนด์0 รอบชิงอันดับที่ 3
 
  โปแลนด์3
 
23 มิถุนายน
 
  ตุรกี2
 
  บราซิล2
 
 
  โปแลนด์3
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ

แก้
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
20 มิ.ย. 17:00 จีน   0–3   ญี่ปุ่น 21–25 21–25 22–25     64–75 P2 รายงาน
20 มิ.ย. 20:30 บราซิล   3–0   ไทย 25–21 25–20 25–23     75–64 P2 รายงาน
21 มิ.ย. 17:00 อิตาลี   3–0   สหรัฐ 25–21 25–21 25–23     75–65 P2 รายงาน
21 มิ.ย. 20:30 โปแลนด์   3–2   ตุรกี 20–25 25–22 25–20 19–25 15–11 104–103 P2 รายงาน

รอบรองชนะเลิศ

แก้
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
22 มิ.ย. 17:00 อิตาลี   3–0   โปแลนด์ 25–18 25–17 25–12     75–47 P2 รายงาน
22 มิ.ย. 20:30 บราซิล   2–3   ญี่ปุ่น 24–26 25–20 21–25 25–22 12–15 107–108 P2 รายงาน

รอบชิงอันดับที่ 3

แก้
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 มิ.ย. 17:00 บราซิล   2–3   โปแลนด์ 21–25 28–26 21–25 25–19 9–15 104–110 P2 รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ

แก้
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 มิ.ย. 20:30 ญี่ปุ่น   1–3   อิตาลี 17–25 17–25 25–21 20–25   79–96 P2 รายงาน

อันดับการแข่งขัน

แก้

รางวัล

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "VNL 2024 To Take The Elite Of The Sport To Four Continents". FIVB. 8 December 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 December 2023. สืบค้นเมื่อ 14 December 2023.
  2. "Women's VNL Finals to be played in Bangkok". volleyballworld.com. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
  3. 3.0 3.1 "VNL 2024 Competition Formula". volleyballworld.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2024. สืบค้นเมื่อ 20 January 2024.
  4. "VNL 2024 to take the elite of the sport to four continents". volleyballworld.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2024. สืบค้นเมื่อ 20 January 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้