รายชื่อวัฒนธรรมยุคหินใหม่ของจีน

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รายชื่อของวัฒนธรรมในช่วง ยุคหินใหม่ ของประเทศ จีน ที่นักโบราณคดีขุดพบ โดยเรียงตามลำดับเวลาจากต้นถึงท้ายสุด และแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมเหล่านี้ในเชิงระยะเวลาและเชิงภูมิศาสตร์

ทั้งนี้การจำกัดความของยุคหินใหม่ของจีนกำลังอยู่ระหว่างการทบทวน เนื่องจากการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาในปี 2012 ที่มีอายุประมาณ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งบ่งชี้ว่าคำจำกัดความของยุคหินใหม่จากตัวชี้วัดคือ เครื่องปั้นดินเผา เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะใช้กำหนดช่วงยุคหินใหม่ได้อีกต่อไป [1] การจำกัดความจะซับซ้อนขึ้นจากการกำหนดตัวชี้วัดใหม่ คือ ช่วงการเริ่มต้นการปลูกธัญพืชในจีน

รายชื่อ แก้

ภาพ ช่วงระยะเวลา

(ปีก่อนคริสตกาล)

ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาจีน ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อและที่ตั้งในปัจจุบัน
18000–7000 วัฒนธรรมถ้ำเซียนเหริน

(ซากโบราณเตี้ยวถ่งหฺวัน)

仙人洞 (吊桶环遗址) Xianren Cave culture
(Paleolithic)
อำเภอว่านเหนียน นครช่างเหรา มณฑลเจียงซี
8500–7700 วัฒนธรรมหนานจวงโถว 南莊頭遺址 Nanzhuangtou culture ภูมิภาคแม่น้ำเหลือง มณฑลเหอเป่ย์ตอนใต้
7500–6100 วัฒนธรรมเผิงโถวชาน 彭頭山文化 Pengtoushan culture ภูมิภาคตอนกลางของแม่น้ำแยงซี ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลหูหนาน
  7000–5000 วัฒนธรรมเผย์หลี่กั่ง 裴李崗文化 Peiligang culture ที่ลุ่มหุบเขาแม่น้ำอี-ลั่ว ในมณฑลเหอหนาน
6500–5500 วัฒนธรรมโฮ่วหลี่ 後李文化 Houli culture มณฑลชานตง
6200–5400 วัฒนธรรมซิงหลงวา 興隆洼文化 Xinglongwa culture ระว่างเขตแดนมองโกเลียใน-มณฑลเหลียวหนิง
6000–5000 วัฒนธรรมคั่วหูเฉียว 跨湖桥文化 Kuahuqiao culture มณฑลเจ้อเจียง
6000–5500 วัฒนธรรมฉีชาน 磁山文化 Cishan culture มณฑลเหอเป่ย์ตอนใต้
5800–5400 วัฒนธรรมต้าตี้วาน 大地灣文化 Dadiwan culture มณฑลกานซู่, มณฑลฉ่านซีทางตะวันตก
5500–4800 วัฒนธรรมซินเล่อ 新樂文化 / 新乐文化 Xinle culture ภูมิภาคตอนปลายแม่น้ำเหลียว บนคาบสมุทรเหลียวตง
5400–4500 วัฒนธรรมเจ้าเป่าโกว 趙宝溝文化 / 赵宝沟文化 Zhaobaogou culture ที่ลุ่มหุบเขาแม่น้ำหลวน ในมองโกเลียใน, มณฑลเหอเป่ย์ตอนเหนือ
5300–4100 วัฒนธรรมเป่ย์ซินเหวิน 北辛文化 Beixin culture ชานตง
  5000–4500 วัฒนธรรมเหอหมู่ตู้ 河姆渡文化 Hemudu culture ยฺหวีเหยาและโจวชาน ในมณฑลเจ้อเจียง
5000–3000 วัฒนธรรมต้าซี 大溪文化 Daxi culture ภูมิภาคสามผา
5000–3000 วัฒนธรรมหม่าเจียปัง 馬家浜文化 Majiabang culture พื้นที่รอบทะเลสาบไท่, อ่าวหางโจว
  5000–3000 วัฒนธรรมหย่างเฉา 仰韶文化 Yangshao culture มณฑลเหอหนาน, มณฑลฉ่านซี, มณฑลชานซี
  4700–2900 วัฒนธรรมหงชาน 紅山文化 Hongshan culture มองโกเลียใน, มณฑลเหลียวหนิง, มณฑลเหอเป่ย์
  4100–2600 วัฒนธรรมต้าเวิ่นโข่ว 大汶口文化 Dawenkou culture มณฑลชานตง, มณฑลอานฮุย, มณฑลเหอหนาน, และมณฑลเจียงซู
3800–3300 วัฒนธรรมซงเจ๋อ 崧澤文化 Songze culture พื้นที่รอบทะเลสาบไท่
  3400–2250 วัฒนธรรมเหลียงจู่ 良渚文化 Liangzhu culture ปากแม่น้ำแยงซี
  3100–2700 วัฒนธรรมหม่าเจียเหยา 馬家窯文化 Majiayao culture ภูมิภาคตอนต้นแม่น้ำเหลือง ในมณฑลกานซู่ มณฑลชิงไห่
3100–2700 วัฒนธรรมชูเจียหลิง 屈家嶺文化 Qujialing culture ภูมิภาคตอนกลางแม่น้ำแยงซี ในมณฑลหูเป่ย์ มณฑลหูหนาน
  3000–2000 วัฒนธรรมหลงชาน 龍山文化 Longshan culture ภูมิภาคตอนกลางและตอนปลายแม่น้ำเหลือง
2800–2000 วัฒนธรรมเป่าตุน 寶墩文化 / 宝墩文化 Baodun culture ที่ราบเฉิงตู
2500–2000 วัฒนธรรมฉือเจียเหอ 石家河文化 Shijiahe culture ภูมิภาคตอนกลางแม่น้ำแยงซี ในหูเป่ย์
1900–1500 วัฒนธรรมเยว่ฉือ 岳石文化 Yueshi culture ภูมิภาคตอนปลายแม่น้ำเหลืองในชานตง

การแบ่งช่วงเวลาของวัฒนธรรม (โครงร่าง) แก้

 
แผนที่แหล่งวัฒนธรรมในยุคหินใหม่ของจีน
 
แผนที่ถูมิศาสตร์แสดงแหล่งวัฒนธรรมในยุคหินใหม่ช่วงกลางของจีน

แผนผังแสดงวัฒนธรรมต่าง ๆ ในยุคหินใหม่ของจีนจัดเรียงตามช่วงเวลาระหว่าง 8,500 ถึง 1,500 ปีก่อนคริสตกาลและแยกตามภูมิภาคของจีนจากเหนือจรดใต้ วัฒนธรรมยุคหินใหม่จัดแสดงในช่องที่ไม่มีเครื่องหมาย * และ วัฒนธรรมยุคสำริด (ตั้งแต่ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล) จัดแสดงในช่องที่มีเครื่องหมาย *

ความคิดเห็นทางวิชาการในเรื่องการแบ่งช่วงระยะเวลาของวัฒนธรรมเหล่านี้ มีความแตกต่างกันและยังไม่ได้ข้อสรุปที่แน่นอน ดังนั้นข้อมูลในแผนผังจึงเป็นข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น

ปี (ก่อนคริสตกาล) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน
(1)
แม่น้ำหวงตอนบน
(2)
แม่น้ำหวงตอนกลาง
(3)
แม่น้ำหวงตอนล่าง
(4)
แม่น้ำแยงซีตอนล่าง
(5)
แม่น้ำแยงซีตอนกลาง
(6)
ที่ราบเสฉวน (7) จีนตะวันออกเฉียงใต้
(8)
จีนตะวันตกเฉียงใต้
(9)
8500     วัฒนธรรมหนานจวงโถว            
    8500–7700            
                 
8000                  
                 
                 
7500                  
                 
                 
7000           วัฒนธรรมเผิงโถวชาน      
          (including      
          Chengbeixi      
6500   วัฒนธรรมต้าตี้วาน วัฒนธรรมเผย์หลี่กั่ง วัฒนธรรมโฮ่วหลี่   and Zaoshi)   Zengpiyan  
วัฒนธรรมซิงหลงวา Laoguantai วัฒนธรรมฉีชาน 6500–5500   7000–5800   7000–5500  
6200–5400 = Baijia Jiahu            
6000   6500–5000 Lijiacun   วัฒนธรรมคั่วหูเฉียว        
    6500–5000   6000–5000        
                 
5500                  
      Beixin          
วัฒนธรรมซินเล่อ     5300–4500          
5000 5300–4800 วัฒนธรรมหย่างเฉา   เหอหมู่ตู้ วัฒนธรรมต้าซี   Dapenkeng  
    (Yangshao)   (Hemudu) 5000–3300   Fuguodun  
     5000–3000   5000–3400     5000–3000  
4500 วัฒนธรรมเจ้าเป่าโกว       วัฒนธรรมหม่าเจียปัง        
4500–4000     วัฒนธรรมต้าเวิ่นโข่ว 5000–4000        
      4300–2600 วัฒนธรรมซงเจ๋อ        
4000         4000–3000        
                 
                 
3500           วัฒนธรรมชูเจียหลิง      
วัฒนธรรมหงชาน         3500–2600 Yingpanshan    
(Hongshan) วัฒนธรรมหม่าเจียเหยา     วัฒนธรรมเหลียงจู่   c. 3100?    
3000 (รวม Fuhe) 3300–2700     3200–1800     Tanishan  
3400–2300  Banshan * วัฒนธรรมหลงชาน     Shijiahe วัฒนธรรมเป่าตุน Shixia  
  2700–2400 (Longshan) * วัฒนธรรมหลงชาน   2500–2000 2800–2000 Nianyuzhuan  
2500   Machang เหอหนาน (Longshan)   Qinglongquan   Qinglongquan  
  2400–2000  2800–2000 ชานตง   = (Hubei-   Hedang Baiyangcun
  *Qijia    2600–2000   Longshan)   3000–.... 2200–2100
2000 *Xiajiadian 2300–1800       2400–2000     Dalongtan
2000–300   *Erlitou *Yueshi         2100–2000
  *Siba 1900–1500 1900–1500 *Maqiao        
1500   1950–1500 Xia
Dynasty
?
  1800–1200 *Chang Jiang
(Sanxingdui)
from 1500    

สำหรับโครงร่างของวัฒนธรรมยุคใหม่นี้จีนได้แบ่งออกเป็น 9 ภูมิภาคดังต่อไปนี้:

  1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน: มองโกเลียใน มณฑลเฮยหลงเจียง มณฑลจี๋หลิน และ มณฑลเหลียวหนิง
  2. จีนตะวันตกเฉียงเหนือ (แม่น้ำหวงตอนบน): มณฑลกานซู ชิงไห่ และ ทางตะวันตกของมณฑลฉ่านซี
  3. ทางตอนเหนือของจีน (แม่น้ำหวงตอนกลาง): มณฑลชานซี มณฑลเหอเป่ย ทางตะวันตกของมณฑลเหอหนาน และ ทางตะวันออกของมณฑลฉ่านซี
  4. ภาคตะวันออกของจีน (แม่น้ำหวงตอนล่าง): มณฑลซานตง มณฑลอานฮุย ทางตอนเหนือของมณฑลเจียงซู และ มณฑลเหอหนานทางตะวันออก
  5. ตะวันออก - ตะวันออกเฉียงใต้ของจีน (แม่น้ำแยงซีตอนล่าง): มณฑลเจ้อเจียง และส่วนใหญ่ของมณฑลเจียงซู
  6. ทางตอนใต้ของจีน (แม่น้ำแยงซีตอนกลาง): มณฑลหูเป่ย และ ทางตอนเหนือของมณฑลหูหนาน
  7. มณฑลเสฉวน และตอนบนของแม่น้ำแยงซี
  8. จีนตะวันออกเฉียงใต้: มณฑลฝูเจี้ยน มณฑลเจียงซี มณฑลกวางตุ้ง มณฑลกวางสี ทางตอนใต้ของมณฑลหูหนาน แม่น้ำแดงตอนล่าง ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม และ เกาะไต้หวันของประเทศจีน
  9. จีนตะวันตกเฉียงใต้: มณฑลยูนนาน และ มณฑลกุ้ยโจว

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Xiaohong Wu, Chi Zhang, Paul Goldberg, David Cohen, Yan Pan, Trina Arpin, Ofer Bar-Yosef (2012). Early Pottery at 20,000 Years Ago in Xianrendong Cave, China. Science, 336, 1696–1700.

เอกสารประกอบ แก้

  • Chang, Kwang-chih (1986). The archaeology of ancient China. New Haven, Conn: Yale University Press. ISBN 0-300-03784-8.
  • Loewe, Michael (1999). The Cambridge history of ancient China:from the origins of civilization to 221 B.C. Cambridge, UK New York: Cambridge University Press. ISBN 0-521-47030-7.
  • Liu, Li (2004). The Chinese neolithic:trajectories to early states. Cambridge, UK New York: Cambridge University Press. ISBN 0-521-81184-8.
  • Liu, Li; Chen, Xingcan (eds). 2012. The archaeology of China: from the late paleolithic to the early bronze age. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-64310-8
  • Underhill, Anne P (ed). 2013. A companion to Chinese archaeology. Blackwell Publishing. ISBN 978-1-4443-3529-3
  • Maisels, Charles (1999). Early civilizations of the old world:the formative histories of Egypt, the Levant, Mesopotamia, India, and China. London New York: Routledge. ISBN 0-415-10976-0.
chapter 7, Higham, Charles, 'East Asian Agriculture and Its Impact', p.234-264.
chapter 15, Higham, Charles, 'Complex Societies of East and Southeast Asia', p.552-594

แหล่งข้อมูลอื่น แก้