รายชื่อธงกองทัพสาธารณรัฐจีน

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในกองทัพสาธารณรัฐจีนอย่างสังเขป

ธงตำแหน่งราชการ

แก้

รัฐบาลเป่ยหยาง

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  26 กันยายน ค.ศ. 1927-4 มิถุนายน ค.ศ. 1928 ธงผู้บัญชาการทหารสูงสุด ธงแถบห้าสี มุมบนคันธงมีตราแผ่นดินของรัฐบาลเป่ยหยาง มีชายครุยสีเหลือง กว้าง 2 เซนติเมตร ธงนี้ใช้อยู่ในเมืองเซี่ยงไฮ้ และ ดินแดนทางภาคตะวันออกของเฉียงเหนือของจีน จนถึง พ.ศ. 2471「จอมพลของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน」[1]

รัฐบาลจีนคณะชาติ

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  1 มกราคม ค.ศ. 1925-ปัจจุบัน ธงประธานาธิบดี ธงสีแดงขอบสีเหลือง กลางธงมีวงกลมสีน้ำเงินขอบ ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก. ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด.[2]
  20 ธันวาคม ค.ศ. 1929-8 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 เดิมมีสถานะเป็น「ธงรัฐบาลแห่งชาติ」ภายหลังเปลี่ยนสถานะเป็น「ธงประธานาธิบดี」 เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 สัดส่วน 2:3
  4 มกราคม ค.ศ. 1934-31 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 ธงประธานคณะกรรมการธิการทหาร ลักษณะเดียวกับธงประธานาธิบดี เป็นธงสี่เหลี่ยมจตุรัสกว้างด้านละ 90 เซนติเมตร(ขอบสีเหลืองความกว้าง 5 เซนติเมตร),กลางธงมีวงกลมสีน้ำเงินเส้นผ่าศูนย์กลาง 37 เซนติเมตรภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก หมายถึง「พรรคก๊กมินตั๋ง และ กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน」。 แสดงตำแหน่งของประธานคณะกรรมการธิการทหาร.
  15 กันยายน ค.ศ. 1947-17 ธันวาคม ค.ศ. 1985 ธงรองประธานาธิบดี ธงสีแดงแถบสีเหลืองที่ด้านบน และ ด้านล่าง กลางธงมีวงกลมสีน้ำเงินขอบ ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก แสดงตำแหน่งของรองประธานาธิบดี[3]สัดส่วน 2:3。

ธงทหาร

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  ค.ศ. 1958-ปัจจุบัน ธงประจำกระทรวงกลาโหม ธงพื้นสีส้ม กลางธงมีตรากระทรวงกลาโหม. สถานที่ราชการของกระทรวงกลาโหม.[2]
  ค.ศ. 1928-ปัจจุบัน ธงฉานกองทัพเรือ (ธงพรรคก๊กมินตั๋ง) ธงพื้นสีน้ำเงิน มีภาพดวงอาทิตย์รัศมี 12 แฉกสีขาว เป็นสัญลักษณ์แทนความคิดเชิงก้าวหน้า. ชักขึ้นที่เสาหัวเรือรบ และ ใช้เป็นธงหมายยศนายพลเรือ[2]
  25 กรกฎาคม ค.ศ. 1960-ปัจจุบัน ธงประจำนาวิกโยธิน ธงพื้นสีแดง กลางธงมีตรานาวิกโยธินไต้หวัน. สถานที่ราชการของหน่วยนาวิกโยธิน.[2]
  ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน ธงประจำทหารสารวัตร ธงพื้นสีเขียว กลางธงมีตราทหารสารวัตรไต้หวัน. สถานที่ราชการของหน่วยทหารสารวัตร.[2]
  ค.ศ. 1960-ค.ศ. 1992 ธงประจำมลฑลทหาร ธงพื้นสีฟ้า กลางธงมีตรามลฑลทหารไต้หวัน. สถานที่ราชการของกองบังคับการมลฑลทหาร.[2]

กองทัพบก

แก้

รัฐบาลเป่ยหยาง

แก้

เดิมธงนี้เป็นธงในเหตุการณ์การลุกฮือหวูชาง (Wuchang uprising) เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2454 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติซินไฮ่ ต่อมาได้ใช้เป็นธงของกองทัพสาธารณรัฐจีนยุคแรก ตั้งแต่ พ.ศ. 2454 - 2471

รัฐบาลจีนคณะชาติ

แก้

ธงกองทัพบกสาธารณรัฐจีน เป็นธงพื้นสีน้ำเงินขอบสีแดง ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก ก่อนปี ค.ศ. 1934 ใช้เป็นธงของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน และ สถานที่ราชการของกองทัพบก[4][5]

กองทัพอากาศ

แก้

เหล่าทหารพลาธิการ

แก้

กองกำลังสำรอง

แก้

ธงกองกำลังกึ่งทหาร

แก้

ตำรวจ

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  ค.ศ. 1912-ค.ศ. 1928 ธงตำรวจเป่ยหยาง ธงพื้นสีเหลือง กลางธงมีตราดาวห้าแฉกแห่งเป่ยหยาง ความกว้าง 1/5 ของธง สัดส่วน 3:5.(  แบบธงตำรวจ ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ของรัฐบาลเป่ยหยางในดินแดนทางภาคตะวันออกของเฉียงเหนือ.
  ค.ศ. 1912-ค.ศ. 1928 ธงเจ้าพนักงานตำรวจน้ำ ธงพื้นสีแดง มีรูปสี่เหลี่ยมสีน้ำเงินที่มุมธงด้านคันธง ภายในช่องสีน้ำเงินมีวงกลมสีขาว มีเส้นฟันปลาสีขาว สัดส่วน 3:4。 แบบธงตำรวจน้ำ ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่ 213「ฉบับที่6 (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912)」.
  ค.ศ. 1928-ค.ศ. 1949 ธงชาติไต้หวัน มีเส้นฟันปลาสีขาว สัดส่วน 2:3. ประกาศใช้เมื่อ ค.ศ. 1929《ธงนาวี》ของกองเรือตำรวจจนถึง ค.ศ. 1969 ปัจจุบันธงนี้ใช้เป็นธงนาวีตำรวจน้ำ.
  ค.ศ. 1932-ค.ศ. 1947 ธงประจำตำรวจ ธงพื้นสีน้ำเงิน กลางธงมีรูปสี่เหลี่ยมสีน้ำเงินขอบสีขาว ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก[6] ภาหลังจากการกรีฑาทัพขึ้นเหนือ กระทรวงกิจการภายใน ได้แยกกิจการตำรวจออกจากฝ่ายกลาโหม เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1932 แบบธงตำรวจประกาศใช้ตามบทบัญญัติหยวน เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม โดยมีลักษณะเดียวกับธงหน่วยทหารปืนใหญ่ของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติ แต่มีรายละเอียดแตกต่างบางประการ
  ค.ศ. 1947-ค.ศ. 1974 ธงชาติไต้หวัน มีรูปนกสีเหลืองที่ปลายธง สัดส่วน 2:3.[7] กระทรวงกิจการภายใน ได้ประกาศใช้แบบธงตำรวจผืนใหม่ตามรัฐธรรมนูญ 「โดยมิได้กล่าวถึงความมุ่งมั่นของตำรวจแห่งชาติ」 ใช้มาจนถึง22 กรกฎาคม ค.ศ. 1974.
  23 กรกฎาคม ค.ศ. 1974-ปัจจุบัน ธงพื้นสีแดงเลือดหมู กลางธงมีตราตำรวจไต้หวัน.[8]

หน่วยดับเพลิง

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  1 กันยายน ค.ศ. 1996-ปัจจุบัน ธงประจำหน่วยดับเพลิงสาธารณรัฐจีน สถานที่ราชการของหน่วยดับเพลิงไต้หวัน สัดส่วน 2:3.

หน่วยยามฝั่ง

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  1 สิงหาคม ค.ศ. 1992-1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2000 ธงประจำหน่วยยามฝั่งสาธารณรัฐจีน สถานที่ราชการของหน่วยยามฝั่งไต้หวัน และ ชักขึ้นที่เสาหัวเรือตรวการณ์ของหน่วยยามฝั่ง สัดส่วน 2:3.
  28 มกราคม ค.ศ. 2000-ปัจจุบัน ธงประจำสำนักบริหารกิจการชายฝั่งสาธารณรัฐจีน ภายหลังจากการจัดส่วนราชการของหน่วยยามฝั่ง เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1992 สัดส่วน 2:3.

ศุลกากร

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  16 ธันวาคม ค.ศ. 1912-ไม่ปรากฏ ธงเจ้าพนักงานศุลกากร ธงแถบห้าสี มุมธงด้านคันธงมีรูปกากบาทแนวทแยงสีเหลืองบนพื้นสีเขียว (ธงศุลกากรสมัยราชวงศ์ชิง) ธงเจ้าพนักงานศุลกากรของรัฐบาลเป่ยหยางในดินแดนทางภาคตะวันออกของเฉียงเหนือ.
  24 มกราคม ค.ศ. 1929-20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1931 ธงชาติไต้หวัน ปลายธงมีรูปกากบาทสีเหลืองในวงกลมสีเขียว แบบธงเจ้าพนักงานศุลกากร ประกาศคำสั่งศุลกากร ฉบับที่ 3848 ลงวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1929.
  20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1931-31 ธันวาคม ค.ศ. 1976 ธงชาติไต้หวัน มีเส้นฟันปลาสีเขียว บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงเจ้าพนักงานศุลกากร》โดยแบบธงที่ประกาศก่อนหน้านี้ใช้จนถึงปี ค.ศ. 1931 จนถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 ปัจจุบันธงเรือดังกล่าวนี้ยังมีการใช้ในบางโอกาส
  1 มกราคม ค.ศ. 1977-ปัจจุบัน ธงแถบตามขวางสีเขียว-เหลือง-เขียว กลางธงมีตราศุลกากรไต้หวัน. สถานที่ราชการของหน่วยศุลกากรไต้หวัน
  ธงผู้ตรวจการณ์กรมศุลกากร ธงพื้นสีเหลืองขอบสีเขียว กลางธงมีตราศุลกากรไต้หวัน อัตราส่วน 132.5×84 เซนติเมตร.
  ธงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ธงฉานซ้อนบนธงกากบาทแนวทแยงสีเหลืองบนพื้นสีเขียว อัตราส่วน 160×115 เซนติเมตร.

ไปรษณีย์

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  ค.ศ. 1919 - ค.ศ. 1929 ธงเจ้าพนักงานไปรษณีย์ ธงพื้นสีขาว มุมธงด้านคันธงมีรูปธงแถบห้าสี ใต้รูปธงมีข้อความภาษาอังกฤษ "Post"และ ภาษาจีน "邮" มีรูปห่านที่ปลายธง สัดส่วน 5:8. แบบธงเจ้าพนักงานไปรษณีย์ ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่... วันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929.
  ค.ศ. 1929-ค.ศ. 1935 ลักษณะเดียวกับข้างต้น มุมธงด้านคันธงเปลี่ยนจากธงห้าสีเป็นธงฉาน (ธงพรรคก๊กมินตั๋ง).[9]
  ค.ศ. 1946-ปัจจุบัน ธงพื้นสีเขียว มีเส้นโค้งรูปคลื่นสีขาว มีอักษรจีนสีแดง "郵" ภายในวงแหวนสีน้ำเงินบนวงกลมสีขาว

ธงเรือ

แก้
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย หมายเหตุ
  ค.ศ. 1912-ค.ศ. 1929 ธงเจ้าพนักงานภาษี ธงกากบาทแนวทแยงมุมสีขาวบนพื้นสีน้ำเงินหม่น ในแต่ละช่องมีรูปสามเหลี่ยมสีขาว สัดส่วน 4:3. บทบัญญัติ ค.ศ. 1914《ธงเจ้าพนักงานภาษี》สำหรับเรือตรวจการณ์.[10][11]
  ค.ศ. 1929-ค.ศ. 1949 ธงชาติไต้หวันพื้นสีขาว มีเส้นฟันปลาสีน้ำเงิน บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงเจ้าพนักงานภาษี》ในสังกัดของรัฐบาล ไม่ปรากฏการใช้.
  ค.ศ. 1929-ค.ศ. 1966 ธงค้าขายสาธารณรัฐจีน ธงชาติไต้หวัน มีเส้นฟันปลาสีเหลือง บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงค้าขายสาธารณรัฐจีน》เป็นธงนาวีของกองเรือพาณิชยนาวี ตามบทบัญญัติหยวน ค.ศ.1966「ธงดังกล่าวต้องชักคู่กับธงชาติเสมอ」[12],ธงภายหลังสิ้นสุดสงครามกลางเมืองจีน ตามมาตรา 5 ของสนธิสัญญาการเดินเรือทะเล และ ใช้ในเวทีกิจกรรมนานาชาติ.
  ค.ศ. 1929-ค.ศ. 2003[13] ธงประจำตำแหน่งรัฐมนตรี ธงสีน้ำเงินขอบสีขาว ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก. บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงประจำตำแหน่งรัฐมนตรี》หมายถึง ผู้บริหารระดับสูงในคณะรัฐบาล ไม่ปรากฏการใช้.
  10 เมษายน ค.ศ. 1935-ค.ศ. 1949 ธงเจ้าพนักงานประมง ธงชาติไต้หวัน มีรูปดาวกระจายจำนวน 15 ดวง และ 16 ดวง ตามลำดับ แบบธงเจ้าพนักงานประมง ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่1712 วันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1935.

ธงชัย

แก้

กระทรวงกลาโหม

แก้

กองทัพบก

แก้

รัฐบาลเป่ยหยาง

แก้
การกรีฑาทัพขึ้นเหนือ
แก้

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2

แก้
ทหารราบ
แก้
สนับสนุนการรบ
แก้
สนับสนุนปฏิบัติการรบ
แก้
สนับสนุนการช่วยรบ
แก้

รัฐบาลจีนคณะชาติ

แก้

กองทัพเรือ

แก้

นาวิกโยธิน

แก้

กองทัพอากาศ

แก้

เหล่าทหารพลาธิการ

แก้

เหล่าทหารสารวัตร

แก้

มลฑลทหาร และ กำลังสำรอง

แก้

กองทหารเกียรติยศ

แก้

โรงเรียน และ วิทยาลัยทหาร

แก้

วิทยาลัยในสังกัดกระทรวงกลาโหม

แก้

โรงเรียนทหารบก

แก้

โรงเรียนทหารเรือ

แก้

โรงเรียนทหารอากาศ

แก้

โรงเรียนตำรวจ

แก้

ตำรวจ และ ดับเพลิง

แก้

หน่วยยามฝั่ง

แก้

ธงหมายยศ

แก้

กระทรวงกลาโหม

แก้

ค.ศ. 1947-1950

แก้

ค.ศ. 1950-1958

แก้

ค.ศ. 1958-1986

แก้

ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน

แก้

กองทัพบก

แก้

ค.ศ. 1958-1986

แก้

ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน

แก้

กองทัพเรือ

แก้

ค.ศ. 1912-1958

แก้

ค.ศ. 1958-1962

แก้

ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน

แก้

นาวิกโยธิน

แก้

กองทัพอากาศ

แก้

ค.ศ. 1958-1962

แก้

ค.ศ. 1962-1981

แก้

ค.ศ. 1981-1986

แก้

ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน

แก้

เหล่าทหารพลาธิการ

แก้

ผู้บัญชาการเหล่าทหารพลาธิการ

แก้

รักษาการณ์ผู้บัญชาการ

แก้

มลฑลทหาร และ กำลังสำรอง

แก้

ตำรวจ

แก้

ยามฝั่ง

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 大元帥令:「茲制定大元帥旗公布之,此令!」. 北京: 中華民國政府公報(4105號). 1927年9月27日. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 陸海空軍軍旗條例附圖
  3. ระเบียบว่าด้วย《ธงหมายยศตำแหน่งทหารเรือ》ยกเลิกการใช้เมื่อ ค.ศ. 1985.
  4. 軍史館「國民革命軍總司令旗」
  5. "文化部「國民革命軍總司令旗」". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-02. สืบค้นเมื่อ 2015-06-16.
  6. 國史館收藏「國民政府檔案---警察旗式制定卷」
  7. 內政部訓令 (1947年10月2日). 制定「警察隊旗製用辦法」,並將舊有警察隊旗式廢止. 南京: 中華民國國民政府公報. pp. 頁5-6. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)[ลิงก์เสีย]
  8. "警徽警旗製用規定". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-07. สืบค้นเมื่อ 2015-06-16.
  9. Postal Ensigns (Chinese Republic)
  10. 《政府公報》,1914年3月27日第677號,第25冊352,財政部公佈鹽務巡船旗式
  11. Flag of the Salt Administration (1912-1929) - FOTW
  12. 行政院民國55年9月20日台五十五交字第7049號令:「我國商船在動員戡亂時期,暫停使用商船旗並經常懸掛國旗。」
  13. 確切停用年代不明,《各項船舶旗幟圖》依行政程序法第174條之1,於2003年1月1日自動失效。

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้