ระบบลีกฟุตบอลไทย

ระบบลีกฟุตบอลไทย หมายถึงระบบในวงการฟุตบอลสโมสรของประเทศไทย ประกอบไปด้วยการแข่งขันระหว่างสโมสรในระดับต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวโยงกันผ่านการเลื่อนชั้นและการตกชั้น

ประวัติ

แก้

ระบบลีกฟุตบอลไทย ถือกำเนิดขึ้นอย่างไม่เป็นทางการในปี พ.ศ. 2508 ซึ่ง สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ก่อตั้งการแข่งขันเพิ่มเติมทั้ง ถ้วยพระราชทานประเภท ค. และ ถ้วยพระราชทานประเภท ง. เพื่อรองรับระบบการแข่งขันเป็นระดับชั้นตามสมาคมฟุตบอลอังกฤษ[1] (การแข่งขันที่มีอยู่เดิมคือ ถ้วยพระราชทานประเภท ก. และ ถ้วยพระราชทานประเภท ข.) และก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2539 เมื่อสมาคมฯ ก่อตั้งการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีกขึ้นมา รวมทั้งไทยลีกดิวิชั่น 1 ในปี พ.ศ. 2540 และ ไทยลีกดิวิชั่น 2 ในปี พ.ศ. 2550 และในปี พ.ศ. 2559 ได้ยุบถ้วย ข., ค. และ ง. รวมกันเป็น ไทยแลนด์ อเมเจอร์ กับก่อตั้งไทยลีก 3 และโอนถ้วย ก. ไปเป็นถ้วยของไทยลีก (ชื่อใหม่ของไทยพรีเมียร์ลีก), ถ้วย ข. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ ไทยลีก 2, ถ้วย ค. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ ไทยลีก 3 และถ้วย ง. เป็นถ้วยสำหรับแชมป์ ไทยลีก 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2563 ได้ยุบไทยลีก 4 เข้ากับไทยลีก 3

ระบบลีกในปัจจุบัน

แก้
Tier ฟุตบอลลีก
1 ไทยลีก
16 ทีม

ตกชั้น 3 ทีม (อันดับ 14-16)

2 ไทยลีก 2
18 ทีม
เลื่อนชั้นอัตโนมัติ 2 ทีม (อันดับ 1-2) เพลย์ออฟเลื่อนชั้น 1 ทีม (อันดับ 3-6) ตกชั้น 3 ทีม (อันดับ 16-18)
3 ไทยลีก 3
76 ทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
12 ทีม
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
13 ทีม
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
12 ทีม
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
12 ทีม
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
14 ทีม
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
12 ทีม

เลื่อนชั้น 3 ทีม ตกชั้น 6 ทีม

4 ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
34 ทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
7 ทีม
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
9 ทีม
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
8 ทีม
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
7 ทีม
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
5 ทีม
ภูมิภาคที่ 6
ใต้

2 ทีม

5 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
(สมัครเล่น) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ตอนบน ตอนล่าง

เลื่อนชั้น 6 ทีม

ระบบลีกในอดีต

แก้

ฤดูกาล 2459-2504

แก้

ในปี 2459 สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย จัดตั้งถ้วยใหญ่ และถ้วยน้อยขึ้น เพื่อวัตถุประสงค์ในการแข่งขันฟุตบอลประจำปีในประเทศไทย

ระดับ ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน
1 ถ้วยใหญ่
2 ถ้วยน้อย

ฤดูกาล 2505-2538

แก้

มีการก่อตั้ง ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน โดยเปลี่ยนชื่อถ้วยใหญ่และถ้วยน้อยเป็นฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. ตามลำดับ พร้อมกับก่อตั้งฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค. และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ระดับ ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน
1 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.
2 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.
3 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ฤดูกาล 2539-2541

แก้

ได้มีการจัดตั้งฟุตบอลลีกอาชีพเป็นครั้งแรก พร้อมกับให้ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ก. เป็นการแข่งขันระหว่างผู้ชนะเลิศกับรองชนะเลิศของไทยพรีเมียร์ลีก

ระดับ ลีกฟุตบอล
1 ไทยพรีเมียร์ลีก
2 ไทยลีกดิวิชั่น 1
3 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ฤดูกาล 2542-2546

แก้

สมาคมฟุตบอลไทยได้มีการจัดตั้งลีกในชื่อโปรวินเชียลลีก เพื่อที่ขยายวงการฟุตบอลอาชีพไปทั่วประเทศ อย่างไรก็ตามมีเพียงทีมจากไทยลีกเท่านั้นที่มีโอกาสได้รับสิทธิในการแข่งขันฟุตบอลระดับเอเชียอย่างเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเอเอฟซีคัพ ในปี 2546 โปรวินเชียลลีกได้ไปอยู่ภายใต้การดูแลของการกีฬาแห่งประเทศไทย

ระดับ ลีกฟุตบอล
1 ไทยพรีเมียร์ลีก แต่ละทีมในโปรวินเชียลลีก จะถูกเลือกตามภูมิภาค
ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้
2 ไทยลีกดิวิชั่น 1
3 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ฤดูกาล 2547-2548

แก้

การกีฬาแห่งประเทศไทยได้เปลี่ยนระบบของโปรวินเชียลลีกเป็นโปรลีก 1 และโปรลีก 2 ในปี 2548 ได้เริ่มมีแนวคิดในการรวมไทยลีกกับโปรวินเชียลลีกเข้าด้วยกันชลบุรี เอฟซี และสุพรรณบุรี เอฟซี ได้เป็นตัวแทนจากโปรวินเชียลลีกที่เข้ามาเล่นในไทยลีก จากการได้ตำแหน่งชนะเลิศและรองชนะเลิศตามลำดับ

ระดับ

ลีกฟุตบอล

1 ไทยพรีเมียร์ลีก โปรวินเชียลลีก
โปรลีก 1
2 ไทยลีกดิวิชั่น 1 โปรลีก 2
3 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ฤดูกาล 2549

แก้

ไดมีการรวมโปรวินเชียลลีก(ที่ถูกเปลียนชื่อเป็น โปรเฟสชันแนลลีก) กับไทยลีกเข้าด้วยกัน โดยให้โปรลีก 1 เป็นลีกระดับสองเทียบเท่ากับไทยลีกดิวชั่น 1 และโปรลีก 2 เป็นลีกระดับสามเทียบเท่ากับฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานถ้วย ข. และไทยลีกดิวิชั่น 2 ที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาใหม่

ระดับ

ลีกฟุตบอล

1 ไทยพรีเมียร์ลีก
2 ไทยลีกดิวิชั่น 1 โปรเฟสชันแนลลีก
โปรลีก 1
3 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. ไทยลีกดิวิชั่น 2 โปรลีก 2
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ฤดูกาล 2550 - 2551

แก้
ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก
ลีกดิวิชัน 1
สโมสรฟุตบอลไทย
ในฤดูกาล 2551
ระดับ ระบบลีกอาชีพ
1 ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก
16 ทีม
2 ลีกดิวิชั่น 1
16 ทีม
3 ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2
22 ทีม (สายเอ 11 ทีม และ สายบี 11 ทีม)
ระบบลีกสมัครเล่น
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. แซตแชมเปียนชิพ
(โปรวินเชียลลีก)
ภูมิภาค 1 ภูมิภาค 2 ภูมิภาค 3 ภูมิภาค 4 ภูมิภาค 5
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
6 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.
  • ไทยพรีเมียร์ลีก
    • ทีมชนะเลิศ ได้สิทธิแข่งขันรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
    • ทีมรองชนะเลิศ ได้สิทธิแข่งขันรายการเอเอฟซีคัพ
    • ทีมอันดับที่ 14-16 (3 อันดับสุดท้าย) ลดชั้นไปแข่งขันในไทยลีกดิวิชัน 1
  • ไทยลีกดิวิชั่น 1
    • ทีมอันดับที่ 1-3 ได้สิทธิเลื่อนชั้นไปแข่งขันในไทยพรีเมียร์ลีก
    • ทีมอันดับที่ 13-16 (4 อันดับสุดท้าย) ลดชั้นไปแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2
  • ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2
    • ทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศ ของสายเอ และสายบี ได้สิทธิเลื่อนชั้นไปเล่นในไทยลีกดิวิชัน 1
    • ทีมอันดับที่ 7-11 ของสายเอ และสายบี ลดชั้นไปแข่งขัน ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. หรือ โปรวินเชียลลีก

ฤดูกาล 2552 - 2555

แก้
ระดับ ระบบลีกอาชีพ
1 ไทยพรีเมียร์ลีก
(สปอนเซอร์ไทยพรีเมียร์ลีก)
18 ทีม
2 ดิวิชัน 1
(ยามาฮ่า ลีกวัน)
18 ทีม
3 ดิวิชัน 2
(เอไอเอสลีกภูมิภาค)
5 โซนภูมิภาค
กลุ่มภาคเหนือ
18 ทีม
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
16 ทีม
กลุ่มภาคกลางและภาคตะวันออก
18 ทีม
กลุ่มกรุงเทพฯและปริมณฑล
18 ทีม
กลุ่มภาคใต้
11 ทีม
ระบบลีกสมัครเล่น
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.
27 ทีม
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
25 ทีม
6 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.
60 ทีม

การเลื่อนชั้น-ตกชั้น

ไทยพรีเมียร์ลีก ทีมอันดับที่ 1 ได้สิทธิ์ไปเล่นฟุตบอลเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกรอบแบ่งกลุ่ม ทีมอันดับที่ 2 ได้สิทธิ์ไปเล่นฟุตบอลเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกรอบคัดเลือก ทีมอันดับที่ 16-18 (3 อันดับสุดท้าย) ถูกลดชั้นไปเล่นในดิวิชัน 1

ไทยลีกดิวิชัน 1 ทีมอันดับที่ 1-3 ได้สิทธิ์เลื่อนชั้นไปเล่นในไทยพรีเมียร์ลีก ทีมอันดับที่ 15-18 (4 อันดับสุดท้าย ถูกลดชั้นไปเล่นในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2

ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ทีมอันดับที่ 1 และ 2 ของทั้งสองสายจากรอบมินิลีก (รวม 4 ทีม) ได้สิทธิ์เลื่อนชั้นไปเล่นในไทยลีกดิวิชัน 1 (มินิลีกมี 12 ทีม แบ่งเป็นสายละ 6 ทีม ซึ่งมาจาก 2 ทีมแชมป์ของแต่ละภาค รวมเป็น 10 ทีมบวกกับ ทีมอันดับ 3 ที่ดีที่สุดอีก 2 ทีมจาก 3 ภาค คือภาคกลาง,ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมเป็น 12 ทีม)

ฤดูกาล 2556 - 2558

แก้
ระดับ ระบบลีกอาชีพ
1 ไทยพรีเมียร์ลีก
(โตโยต้า ไทยพรีเมียร์ลีก)
18 ทีม
2 ไทยลีกดิวิชั่น 1
(ยามาฮ่า ลีกวัน)
20 ทีม
3 ลีกดิวิชั่น 2
(เอไอเอส ลีกภูมิภาค)
6 กลุ่มภูมิภาค
กลุ่มภาคเหนือ
14 ทีม
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
18 ทีม
กลุ่มกรุงเทพและภาคกลาง
14 ทีม
กลุ่มภาคกลางตะวันออก
14 ทีม
กลุ่มภาคกลางตะวันตก
13 ทีม
กลุ่มภาคใต้
10 ทีม
ระบบลีกสมัครเล่น
4 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.
27 ทีม
5 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
25 ทีม
6 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.
60 ทีม
  • ไทยพรีเมียร์ลีก
    • ทีมชนะเลิศ ได้สิทธิแข่งขันรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
    • ทีมรองชนะเลิศ ได้สิทธิแข่งขันรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือก
    • ทีมอันดับที่ 16-18 (3 อันดับสุดท้าย) ลดชั้นไปแข่งขันในไทยลีกดิวิชัน 1
  • ไทยลีกดิวิชั่น 1
    • ทีมอันดับที่ 1-3 ได้สิทธิเลื่อนชั้นไปแข่งขันในไทยพรีเมียร์ลีก
    • ทีมอันดับที่ 15-20 (6 อันดับสุดท้าย) ลดชั้นไปแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2
  • ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2
    • ทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศ ของทั้งสองสายจากรอบแชมเปียนส์ลีก (รวม 4 ทีม) ได้สิทธิเลื่อนชั้นไปเล่นในไทยลีกดิวิชัน 1
    • แชมเปียนส์ลีกมี 12 ทีม แบ่งเป็น 2 สายๆละ 6 ทีม ซึ่งทีมที่เข้าแข่งขัน มาจากอันดับ 1 และ 2 ของ 5 กลุ่ม ได้แก่ ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, กรุงเทพและภาคกลาง, ภาคกลางตะวันออก, ภาคกลางตะวันตก และ อันดับ 1 ของกลุ่มภาคใต้ รวมกับ ทีมชนะ ระหว่างอันดับที่ 2 จากกลุ่มภาคใต้ กับ ทีมอันดับ 3 ที่ดีที่สุดของกลุ่มภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งสิ้น 12 ทีม

ฤดูกาล 2559

แก้
ระดับ ลีก/ดิวิชั่น
1 ไทยลีก
(โตโยต้า ไทยลีก)
18 ทีม
2 ไทยลีกดิวิชั่น 1
(ยามาฮ่า ลีกดิวิชั่น 1)
16 ทีม
3 ลีกดิวิชั่น 2
(เอไอเอสลีกดิวิชั่น 2)
8 กลุ่มภูมิภาค
กลุ่มภาคเหนือ
12 ทีม
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
14 ทีม
กลุ่มกรุงเทพ
12 ทีม
กลุ่มภาคตะวันออก
12 ทีม
กลุ่มภาคตะวันตก
12 ทีม
กลุ่มภาคใต้
14 ทีม
กลุ่มภาคกลาง
12 ทีม
กลุ่มกรุงเทพตะวันออก
12 ทีม
4 ลีกดิวิชั่น 3
(อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์)
5 กลุ่มภูมิภาค
กลุ่มภาคเหนือ
13 ทีม
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
13 ทีม
กลุ่มภาคตะวันออก
13 ทีม
กลุ่มภาคกลาง
13 ทีม
กลุ่มภาคใต้
13 ทีม

ฤดูกาล 2560

แก้
ระดับ ฟุตบอลลีก
1 ไทยลีก
18 ทีม
2 ไทยลีก 2
18 ทีม
3 ไทยลีก 3
32 ทีม
บน
16 ทีม
ล่าง
16 ทีม
4 ไทยลีก 4
(กึ่งอาชีพ)
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
5 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
(สมัครเล่น) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ภาคกลาง
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้

ฤดูกาล 2561

แก้
ระดับ ฟุตบอลลีก
1 ไทยลีก
18 ทีม
2 ไทยลีก 2
18 ทีม
3 ไทยลีก 3
32 ทีม
บน
16 ทีม
ล่าง
16 ทีม
4 ไทยลีก 4
(กึ่งอาชีพ)
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
5 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
(สมัครเล่น) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้

ฤดูกาล 2562

แก้
Tier ฟุตบอลลีก
1 ไทยลีก
16 ทีม
2 ไทยลีก 2
18 ทีม
3 ไทยลีก 3
28 ทีม
บน
14 ทีม
ล่าง
14 ทีม
4 ไทยลีก 4
(กึ่งอาชีพ)
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
5 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
(สมัครเล่น) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ตอนบน ตอนล่าง

ฤดูกาล 2563–64

แก้
Tier ฟุตบอลลีก
1 ไทยลีก
16 ทีม
2 ไทยลีก 2
18 ทีม
3 ไทยลีก 3
ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
4 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
(สมัครเล่น) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ตอนบน ตอนล่าง

ฤดูกาล 2565–66

แก้
Tier ฟุตบอลลีก
1 ไทยลีก
16 ทีม
2 ไทยลีก 2
18 ทีม
3 ไทยลีก 3
76 ทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
4 ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
(กึ่งอาชีพ) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
5 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
(สมัครเล่น) ไม่จำกัดทีม
ภูมิภาคที่ 1
เหนือ
ภูมิภาคที่ 2
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ภูมิภาคที่ 3
ตะวันออก
ภูมิภาคที่ 4
ตะวันตก
ภูมิภาคที่ 5
กรุงเทพและปริมณฑล
ภูมิภาคที่ 6
ใต้
ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง ตอนบน ตอนล่าง กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ตอนบน ตอนล่าง

อ้างอิง

แก้
  1. "ประวัติสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-18. สืบค้นเมื่อ 2016-03-09.