อะพอลโล 11

โครงการการบินอวกาศขององค์การนาซา
(เปลี่ยนทางจาก ยานอะพอลโล 11)

อะพอลโล 11 (อังกฤษ: Apollo XI) เป็นยานอวกาศลำแรกขององค์การนาซา ที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จ อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยจรวด แซเทิร์น 5 (Saturn V: อ่านว่า แซเทิร์นไฟว์) ที่ฐานยิงจรวด 39A แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ.1969 ก่อนแยกยานลงดวงจันทร์ไปลงจอดบริเวณ "ทะเลแห่งความเงียบสงบ” (Mare Tranquilitatis) ได้สำเร็จ ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.1969[8]

อะพอลโล 11
Apollo XI
บัซ อัลดรินยืนบนดวงจันทร์ ให้นีล อาร์มสตรองถ่ายรูป
ประเภทภารกิจCrewed lunar landing
ผู้ดำเนินการNASA
COSPAR ID
  • CSM: 1969-059A
  • LM: 1969-059C
SATCAT no.
  • CSM: 4039
  • LM: 4041
ระยะภารกิจ8 วัน, 3 ชั่วโมง, 18 นาที, 35 วินาที
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศ
ผู้ผลิต
มวลขณะส่งยาน100,756 ปอนด์ (45,702 กิโลกรัม)
มวลหลังการลงจอด10,873 ปอนด์ (4,932 กิโลกรัม)
บุคลากร
ผู้โดยสาร3
รายชื่อผู้โดยสาร
รหัสเรียก
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นJuly 16, 1969, 13:32:00 (1969-07-16UTC13:32Z) UTC[1]
จรวดนำส่งSaturn V SA-506
ฐานส่งKennedy Space Center LC-39A
สิ้นสุดภารกิจ
เก็บกู้โดยยูเอสเอส Hornet
ลงจอดแม่แบบ:End-date UTC
พิกัดลงจอดNorth Pacific Ocean
13°19′N 169°9′W / 13.317°N 169.150°W / 13.317; -169.150 (Apollo 11 splashdown)
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรที่มีดวงจันทร์เป็นศูนย์กลาง
ระยะใกล้สุด100.9 กิโลเมตร (54.5 ไมล์ทะเล)*[2]
ระยะไกลสุด122.4 กิโลเมตร (66.1 ไมล์ทะเล)*[2]
ความเอียง1.25 องศา[2]
คาบการโคจร2 ชั่วโมง[2]
วันที่ใช้อ้างอิงJuly 19, 1969, 21:44 UTC[2]
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์
ส่วนประกอบยานอวกาศCommand and service module
แทรกวงโคจรJuly 19, 1969, 17:21:50 UTC[3]
ออกวงโคจรJuly 22, 1969, 04:55:42 UTC[4]
วงโคจร30
ยานลงจอด ดวงจันทร์
ส่วนประกอบยานอวกาศApollo Lunar Module
วันที่ลงจอดJuly 20, 1969, 20:17:40 UTC[5]
ปล่อยขากลับJuly 21, 1969, 17:54 UTC
ตำแหน่ง]'0vfTranquility Base,
Mare Tranquillitatis
แม่แบบ:Lunar coords and quad cat[6]
มวลตัวอย่าง21.55 กิโลกรัม (47.51 ปอนด์)
กิจกรรมนอกพาหนะบนพื้นผิว1
ระยะเวลากิจกรรมนอกพาหนะ2 ชั่วโมง, 31 นาที, 40 วินาที
Docking with LM
Docking dateJuly 16, 1969, 16:56:03 UTC[3]
Undocking dateJuly 20, 1969, 17:44:00 UTC[7]
Docking with LM ascent stage
Docking dateJuly 21, 1969, 21:35:00 UTC[4]
Undocking dateJuly 21, 1969, 23:41:31 UTC[4]
Circular insignia: eagle with wings outstretched holds olive branch on Moon with Earth in background, in blue and gold border. Three astronauts in spacesuits without helmets sitting in front of a large photo of the Moon.
ซ้ายไปขวา: นีล อาร์มสตรอง ผู้บังคับการ, ไมเคิล คอลลินส์ และเอดวิน อัลดริน 

ลูกเรือในยานอวกาศประกอบด้วยนีล อาร์มสตรอง ผู้บังคับการ, บัซ อัลดริน นักบินยานลงดวงจันทร์ (Lunar Module) และไมเคิล คอลลินส์ เป็นนักบินยานบังคับการ (Command Module) อาร์มสตรองเป็นมนุษย์คนแรกที่ลงมาประทับรอยเท้าบนดวงจันทร์ ตามมาด้วยอัลดริน นักบินอวกาศทั้งสองได้ติดตั้งเครื่องวัดแผ่นดินไหว, กระจกสะท้อนเลเซอร์, เครื่องวัดลมสุริยะ, และเก็บตัวอย่างหินและดิน 21.6 กิโลกรัม นำกลับมายังโลก[9]

นักบินอวกาศทั้งสองใช้เวลาอยู่บนดวงจันทร์รวม 21 ชั่วโมง 36 นาที ใช้เวลานับตั้งแต่ออกเดินทางจนกลับถึงโลก 195 ชั่วโมง 18 นาที 35 วินาที โดยเดินทางกลับมาลงจอดบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ.1969 ยานอวกาศอะพอลโล 11 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการอะพอลโล ซึ่งเกิดจากความปรารถนาของประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี ที่ต้องการส่งมนุษย์ไปยังดวงจันทร์ให้สำเร็จ และกลับมายังโลกอย่างปลอดภัย[10]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Mission Overview
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Apollo 11 Mission Summary". The Apollo Program. National Air and Space Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 29, 2013. สืบค้นเมื่อ September 7, 2013.
  3. 3.0 3.1 Orloff 2000, p. 106.
  4. 4.0 4.1 4.2 Orloff 2000, p. 109.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ALSJ 1
  6. Williams, David R. (December 11, 2003). "Apollo Landing Site Coordinates". NASA Space Science Data Coordinated Archive. NASA. สืบค้นเมื่อ September 7, 2013.
  7. Orloff 2000, p. 107.
  8. Loff, Sarah (2015-04-17). "Apollo 11 Mission Overview". NASA.
  9. "Lunar - Missions - Apollo 11 Samples". Lunar and Planetary Institute (LPI) (ภาษาอังกฤษ).
  10. "Apollo Splashdown History". USS Hornet Museum (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).