ภูมิภาคของญี่ปุ่น

ภูมิภาคในประเทศญี่ปุ่น มิได้มีสถานะเป็นหน่วยการปกครองอย่างเป็นทางการ แต่มีการใช้สืบเนื่องกันมาเป็นแผนกหนึ่งในการจำแนกพื้นที่ของประเทศญี่ปุ่นไปตามแต่บริบท ยกตัวอย่างเช่น แผนที่และตำราภูมิศาสตร์ในญี่ปุ่นจะแบ่งเป็นแปดภูมิภาค, การรายงานสภาพอากาศมักจะรายงานตามภูมิภาค ตลอดจน หน่วยธุรกิจและสถาบันการศึกษาจำนวนมากก็ใช้ชื่อภูมิภาคเป็นส่วนหนึ่งของชื่อองค์กร

แผนที่ภูมิศาสตร์ญี่ปุ่น จากตะวันออกเฉียงเหนือถึงตะวันตกเฉียงใต้: ฮกไกโด (สีแดง), โทโฮกุ (สีเหลือง), คันโต (สีเขียว), ชูบุ (สีไซอัน), คันไซ (สีน้ำเงิน), ชูโงกุ (สีส้ม), เกาะชิโกกุ (สีม่วง) และเกาะคีวชู กับ จังหวัดโอกินาวะ (สีเทา)

ตาราง แก้

ภูมิภาค ประชากร พื้นที่ตารางกิโลเมตร[1] จังหวัด
ฮกไกโด 5.4 ล้าน[2] 83,000 ฮกไกโด
โทโฮกุ 8.91 ล้าน[3] 67,000 อากิตะ, อาโอโมริ, ฟูกูชิมะ, อิวาเตะ, มิยางิ, ยามางาตะ
คันโต 43.2 ล้าน[4] 32,000 ชิบะ, กุมมะ, อิบารากิ, คานางาวะ, ไซตามะ, โทจิงิ, โตเกียว
ชูบุ 21.4 ล้าน[5] 67,000 ไอจิ, ฟูกูอิ, กิฟุ, อิชิกาวะ, นางาโนะ, นีงาตะ, ชิซูโอกะ, โทยามะ, ยามานาชิ
คันไซ (หรือ คิงกิ) 22.5 ล้าน[6] 33,000 เฮียวโงะ, เกียวโต, มิเอะ, นาระ, โอซากะ, ชิงะ, วากายามะ
ชูโงกุ 7.4 ล้าน[7] 32,000 ฮิโรชิมะ, โอกายามะ, ชิมาเนะ, ทตโตริ, ยามางูจิ
ชิโกกุ 3.8 ล้าน[8] 19,000 เอฮิเมะ, คางาวะ, โคจิ, โทกูชิมะ
คีวชู 14.5 ล้าน[9] 44,000 ฟูกูโอกะ, คาโงชิมะ, คูมาโมโตะ, มิยาซากิ, นางาซากิ, โออิตะ, โอกินาวะ, ซางะ

ภูมิภาคและเกาะ แก้

นี่คือเกาะและภูมิภาคกับจังหวัดสำคัญของญี่ปุ่น โดยเรียงตั้งแต่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือถึงตะวันตกเฉียงใต้[10][11] ภูมิภาคหลักทั้งแปดเป็น สีเข้ม

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Regions of Japan