ภาษาเปอร์เซียใหม่

ภาษาเปอร์เซียใหม่ (เปอร์เซีย: فارسی نو, อักษรโรมัน: Fārsī-ye No) มีอีกชื่อว่า ภาษาเปอร์เซียสมัยใหม่ (فارسی نوین) เป็นภาษาเปอร์เซียขั้นปัจจุบันซึ่งพูดกันมาตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 9 จนถึงปัจจุบันในเกรเตอร์อิหร่านและพื้นที่โดยรอบ ตามแบบแผนแบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ ภาษาเปอร์เซียใหม่ตอนต้น (คริสต์ศตวรรษที่ 8/9), ภาษาเปอร์เซียคลาสสิก (คริสต์ศตวรรษที่ 10–18) และภาษาเปอร์เซียร่วมสมัย (คริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน)

ภาษาเปอร์เซียใหม่
فارسی نو, پارسی نو
วลี ภาษาฟอร์ส เขียนเป็นอักษรวิจิตรเปอร์เซีย (แนสแทอ์ลีก)
ประเทศที่มีการพูด
จำนวนผู้พูด70 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)[7]
(รวมทั้งหมด 110 ล้านคน)[6]
ตระกูลภาษา
รูปแบบก่อนหน้า
ระบบการเขียนชุดตัวอักษรเปอร์เซีย (อิหร่านและอัฟกานิสถาน)
ชุดตัวอักษรทาจิก (ทาจิกิสถาน)
ชุดตัวอักษรฮีบรู
อักษรเบรลล์เปอร์เซีย
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ
ผู้วางระเบียบ
รหัสภาษา
ISO 639-1fa
ISO 639-2per (B)
fas (T)
ISO 639-3fas
Linguasphere
58-AAC (เปอร์เซียวงกว้าง)
> 58-AAC-c (เปอร์เซียศูนย์กลาง)
บริเวณที่มีผู้พูดภาษาเปอร์เซียเป็นภาษาแม่ (รวมภาษาย่อย)
โลกที่พูดภาษาเปอร์เซีย
ข้อมูล
  ภาษาราชการ
  ผู้พูดมากกว่า 1,000,000 คน
  ผู้พูดระหว่าง 500,000–1,000,000 คน
  ผู้พูดระหว่าง 100,000–500,000 คน
  ผู้พูดระหว่าง 25,000–100,000 คน
  ผู้พูดน้อยกว่า 25,000 คน / ไม่มี
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

การจัดอันดับ

แก้

ภาษาเปอร์เซียใหม่อยู่ในกลุ่มตะวันตกของกลุ่มภาษาอิหร่าน ซึ่งเป็นสาขาในกลุ่มภาษาอินโด-อิเรเนียนของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ที่ภาษาเปอร์เซียมีผู้พูดมากที่สุด และกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือที่ภาษาเคิร์ดมีผู้พูดมากที่สุด[10]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 Samadi, Habibeh; Nick Perkins (2012). Martin Ball; David Crystal; Paul Fletcher (บ.ก.). Assessing Grammar: The Languages of Lars. Multilingual Matters. p. 169. ISBN 978-1-84769-637-3.
  2. "IRAQ". Encyclopædia Iranica. สืบค้นเมื่อ 7 November 2014.
  3. "Tajiks in Turkmenistan". People Groups.
  4. Pilkington, Hilary; Yemelianova, Galina (2004). Islam in Post-Soviet Russia. Taylor & Francis. p. 27. ISBN 978-0-203-21769-6. Among other indigenous peoples of Iranian origin were the Tats, the Talishes and the Kurds.
  5. Mastyugina, Tatiana; Perepelkin, Lev (1996). An Ethnic History of Russia: Pre-revolutionary Times to the Present. Greenwood Publishing Group. p. 80. ISBN 978-0-313-29315-3. The Iranian Peoples (Ossetians, Tajiks, Tats, Mountain Judaists)
  6. 6.0 6.1 Windfuhr, Gernot: The Iranian Languages, Routledge 2009, p. 418.
  7. "Persian | Department of Asian Studies" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2 January 2019. There are numerous reasons to study Persian: for one thing, Persian is an important language of the Middle East and Central Asia, spoken by approximately 70 million native speakers and roughly 110 million people worldwide.
  8. Constitution of the Islamic Republic of Iran: Chapter II, Article 15: "The official language and script of Iran, the lingua franca of its people, is Persian. Official documents, correspondence, and texts, as well as text-books, must be in this language and script. However, the use of regional and tribal languages in the press and mass media, as well as for teaching of their literature in schools, is allowed in addition to Persian."
  9. Constitution of the Republic of Dagestan: Chapter I, Article 11: "The state languages of the Republic of Dagestan are Russian and the languages of the peoples of Dagestan."
  10. Windfuhr, Gernot (1987). Comrie, Berard (บ.ก.). The World's Major Languages. Oxford: Oxford University Press. pp. 523–546. ISBN 978-0-19-506511-4.

ข้อมูล

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้